Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorสุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-05T07:06:12Z-
dc.date.available2013-07-05T07:06:12Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32852-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการสื่อสารเพื่อสร้างธำรงรักษาและต่อรองอัตลักษณ์ความเป็นมอญของกลุ่มชาวมอญพลัดถิ่นในประเทศไทย รวมถึงศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่เกิดขึ้นท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์อันจะมีผลต่ออัตลักษณ์ความเป็นมอญในแง่มุมต่างๆ และศึกษาถึงการรับรู้ความหมายและคุณค่าเกี่ยวกับอัตลักษณ์ระหว่างผู้ที่อยู่ในฐานะของคนในคือคนมอญเอง และในทัศนะของคนนอกหรือผู้ที่อยู่ในฐานะของผู้อื่น โดยใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูลได้แก่การวิเคราะห์เอกสาร การสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาได้แก่ กลุ่มชาวมอญในประเทศไทย 3 ชุมชน คือกลุ่มชาวมอญพระประแดง กลุ่มชาวมอญเกาะเกร็ด และกลุ่มชาวมอญบางกระดี่ ซึ่งเป็นชุมชนมอญที่อยู่ในบริบทความเป็นเมือง ผลการวิจัย พบว่า มิติประวัติศาสตร์ถือเป็นบริบทชุมชนที่สำคัญในการสร้างอัตลักษณ์ความเป็นมอญแบบต่างๆ อันได้แก่ อัตลักษณ์แบบมอญไฮโซของกลุ่มมอญพระประแดง อัตลักษณ์มอญค้าขายและมอญช่างปั้นของกลุ่มมอญเกาะเกร็ด และมอญน้ำเค็มของกลุ่มมอญบางกระดี่ โดยปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลต่อการสืบทอดและธำรงรักษาอัตลักษณ์ความเป็นมอญคือ จำนวนและการควบคุมจากคนรุ่นเก่า ซึ่งทั้งการสร้าง การธำรงรักษาและการต่อรองอัตลักษณ์ความเป็นมอญนั้นกระทำผ่านการสื่อสารทั้งสิ้น 6 ประเภทในลักษณะของการผสมผสานข้อดีของแต่ละสื่อเข้าด้วยกัน อันได้แก่การสื่อสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อบุคคล สื่อประเพณี สื่อวัตถุ องค์กรเครือข่ายของชาวมอญ และผ่านภาษาในพื้นที่ชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังพบว่า การรับรู้อัตลักษณ์ความเป็นมอญที่สอดคล้องกันระหว่างกลุ่มคนมอญในฐานะคนในและกลุ่มคนนอกในฐานะผู้อื่น 2 อัตลักษณ์ด้วยกันคือ 1) อัตลักษณ์ “มอญชนชาติที่มีอารยธรรม” และ 2) อัตลักษณ์ “มอญชนชาติที่เคร่งครัดในพระพุทธศาสนา” ผสมผสานกับการสร้างให้ชนชาติพม่าคือความเป็นอื่น ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้กลุ่มชาวมอญที่อยู่ในฐานะคนพลัดถิ่นของสังคมย่อยสามารถอยู่ร่วมกับสังคมไทยที่เป็นสังคมใหญ่ได้อย่างราบรื่นen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study communication and the construction, maintenance and negotiation of Mon Identity by a diasporic ethnic Mon group in Thailand, and analyze factors affecting their identity in varied aspects. Additionally, this research also studies the construction of the meaning of Monness between Mons as insiders and others as outsiders. Data were collected by in-depth interview and direct participant and non-participant observation with three Mon groups who live in urban areas in Prapadaeng, Koh Kred (Kred Island) and Bangkadi. The research found that historical awareness in the context of community shapes their identity into different types such as high class Mon of Prapadaeng, traders of Mon in Koh Kred, and fishermen of Bangkradi. The most important factor in shaping these different appearances were numbers and control of old generation. The construction, maintenance and negotiation of identity were done through 6 integrated communicative genres. They were printed media, interpersonal communication, traditional media, material media, networks and organizations of Mon’s, and language of every day use. Additionally, the research also found that mutual perception of Mon identity in the eyes of insiders and outsiders was divided into two ways by those who were people who were rich in civilization and those who were strict Buddhist. These types mingled with the otherness of Myanmar and can make Mon diasporic ethnic group live in Thai society smoothly.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2043-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเอกลักษณ์ทางสังคมen_US
dc.subjectเอกลักษณ์ชาติพันธุ์en_US
dc.subjectกลุ่มชาติพันธุ์ -- ไทยen_US
dc.subjectมอญ -- ไทยen_US
dc.subjectคนพลัดถิ่น -- ไทยen_US
dc.subjectโลกาภิวัตน์en_US
dc.subjectGroup identityen_US
dc.subjectEthnicityen_US
dc.subjectEthnic groups -- Thailanden_US
dc.subjectMon (Southeast-Asian people) -- Thailanden_US
dc.subjectDiaspora -- Thailanden_US
dc.subjectGlobalizationen_US
dc.titleการสื่อสารเพื่อสร้าง ธำรงรักษาและต่อรองอัตลักษณ์ความเป็นมอญของกลุ่มชาวมอญพลัดถิ่นในประเทศไทยท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์en_US
dc.title.alternativeCommunication for the construction, maintenance and negotiation of a "Monness" identity by a diasporic ethnic Mon group under globalization currentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkkaewthep@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2043-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sujitra_pl.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.