Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์สิทธิ์ เฉลิมพงศ์-
dc.contributor.authorอภิพัฒน์ คล้ายคลึง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-15T06:23:30Z-
dc.date.available2013-07-15T06:23:30Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33089-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในบริเวณใกล้เคียงเป็นอย่างมาก งานวิจัยในอดีตได้พยายามประเมินผลกระทบดังกล่าว โดยศึกษาผลของเสียงจากท่าอากาศยานต่อมูลค่าบ้านพักอาศัยในบริเวณใกล้เคียง โดยการวิเคราะห์แบบจำลองฮีโอนิคซึ่งมีจุดอ่อนหลายประการ เช่น ไม่สามารถประเมินผลกระทบของเสียงในระดับที่แตกต่างจากในปัจจุบันได้ในงานวิจันนี้ ได้ใช้วิธีการสมมติเหตุการณ์ให้ประเมินมูลค่า (Contingent Valuation Method หรือ CVM) และวิธีการทดลองทางเลือก (Choice Experiment หรือ CE) ซึ่งจะสามารถสะท้อนมูลค่าของผลกระทบของสภาพแวดล้อมต่อความรู้สึกและทัศนคติของผู้พักอาศัยได้ถูกต้องกว่า โดยศึกษาความเต็มใจที่จะยอมรับเงินค่าชดเชย (Willingness To Accept Compensation หรือ WTAC) ในสถานการณ์สมมติของผลกระทบทางเสียงต่าง ๆ โดยการศึกษาเบื้องต้นโดยใช้ CVM ถึง WTC ในสถานการณ์สมมตุที่มีผลกระทบทางเสียงใน 3 ลักษณะคือ ระดับความดังของเสียงความถี่ของเสียงรบกวนและการเกิดเสียงรบกวนในช่วงเวลากลางคืน แล้วนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์แบบจำลองความถดถอยเพื่อประเมิน WTAC ต่อผลกระทบของเสียงในลักษณะต่าง ๆ จากผลการวิเคราะห์พบว่าค่า WTAC สำหรับการลดลงของความถี่เที่ยวบินครึ่งหนึ่งเท่ากับ 649.90 บาท/เดือนและอีกส่วนทำการศึกษาโดยใช้วิธี Choic Experiment ในสถานการณ์สมมุติที่ประกอบด้วย 2 คุณลักษณะ คือ ความถี่เที่ยวบินและจำนวนเงินชดเชย แล้วนำมาวิเคราะห์แบบจำลองโลจิตเพื่อประเมิน WTAC ต่อความถี่เที่ยวบิน จากผลการวิเคราะห์พบว่าค่า WTAC สำหรับการลดลงของความถี่เที่จยวบินเท่ากับ 33.92 บาท/เที่ยวบิน/เดือน โดยผลลัพธ์ของงานวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางในการกำหนดแผนการจ่ายค่าชดเชยแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบทางเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งน่าจะเพิ่มขึ้นในอตราคตจากการขยายท่าอากาศยานen_US
dc.description.abstractalternativeThe noise from Suvarnabhumi Airport has adversely affected quality of life of people who live and work in the surrounding area. In the previous research, the impact of airport noise on home values was examined by hedonic prie modeling approach. There are several shortcomings of this approach, such as its inability to evaluate impats of the different levels of noise from current situation. In the present study, contngent valuation method (CVM) and choice experiment (CE), whih can reflect the feelings and attitudes of resdents more clearly than market prie, are employed by surveying willingness to accept compensation (WTAC) of residents of the affected area under various hypothetical noise scenarios in the first part of the research, CVM was employed to examine the examine the williness to accept monetary compensation under various hypothetical noise scenarios with three noise attributes, namely level of noise, frequency of noise and noise during night time. The survey data were used to estimate the regression model to assess the impact of noise on WTAC of the residents under different noise situations. The result reveals that WTAC for 50% reduction in flight frequency equals 649.90 Baht/month. In the second part of the research, choice experiment under various hypothetical noise scenarios with two noise attributes, frequency of flights and monetary compensation. The survey data were used to estimate the logit model to assess the frequency of flights on WTAC. The result from logit model imply that WTAC for flight reduction is 33.92 Baht/flight/month. These results can inform the formulation of compensation plan for parties affected by airport noise, which will likely inrease in the near futrue, due to the airport expansion.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.366-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectท่าอากาศยานสุวรรณภูมิen_US
dc.subjectเสียงรบกวนจากท่าอากาศยานen_US
dc.subjectSuvarnabhumi (Airport : Bangkok, Thailand)en_US
dc.subjectAirport noiseen_US
dc.titleความเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยผลกระทบทางเสียงจากท่าอากาศยาน : กรณีศึกษาท่าอากาศยานสุวรรณหภูมิen_US
dc.title.alternativeWillingness to accept compenesation for airport noise impact : case study of Suvarnabhumi airporten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSaksith.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.366-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
apipat_kl.pdf9.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.