Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3333
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกัญญา สุดบรรทัด-
dc.contributor.authorบุญชัย ศรีประทีป, 2518--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-01-14T03:36:54Z-
dc.date.available2007-01-14T03:36:54Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741300476-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3333-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractทดสอบแนวคิดของ Jack Fuller เกี่ยวกับการใช้วาทศิลป์ในข่าวอาชญากรรมของหนังสือพิมพ์รายวัน วิเคราะห์เนื้อหาจากกรณีข่าวอาชญากรรม 9 เรื่องในช่วงระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 และการสัมภาษณ์เชิงลึกนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน 2 คน และนักหนังสือพิมพ์ 2 คน ผลการวิจัยพบว่า ข่าวอาชญากรรมทั้ง 9 เหตุการณ์ที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐและหนังสือพิมพ์ข่าวสดมีแนวโน้มในการนำเสนอตามแนวคิดวาทศิลป์ในข่าว ทั้งในแง่มุมการมีแก่นของหัวข่าว เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการวางโครงเรื่อง การกล่าวถึงบุคคลในข่าวคล้ายๆ กับตัวละครในนวนิยาย การกล่าวถึงบทสนทนา การกล่าวถึงมุมมองในการเล่า รวมถึงการเขียนถึงฉากและบรรยากาศในเหตุการณ์ได้อย่างมีอรรถรส ดังนั้นการอ่านข่าวก็เหมือนการอ่านนวนิยายเรื่องหนึ่ง รวมทั้งการใช้ถ้อยคำที่มุ่งเน้นให้ภาพพจน์ เร้าอารมณ์ความรู้สึกของผู้อ่านด้วย สำหรับความคิดเห็นของนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชนและนักหนังสือพิมพ์ เห็นร่วมกันว่าหนังสือพิมพ์เป็นสื่อมวลชนที่มีการแข่งขันกับสื่อมวลชนแขนงอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นสื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่ออินเทอร์เน็ต รวมถึงสื่ออื่นๆ ทางด้านธุรกิจเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึงต้องแสวงหาวิธีการเพื่อความอยู่รอดทางธุรกิจ ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้หนังสือพิมพ์รายวันปัจจุบันมีแนวโน้มในการรายงานข่าวแบบนี้เพิ่มขึ้น การรายงานข่าวอาชญากรรมในลักษณะแบบนี้เป็นสิ่งที่หนังสือพิมพ์สามารถรายงานข่าวได้ แต่ควรคำนึงเรื่องผลกระทบของการรายงานข่าวอาชญากรรมแบบนี้ที่สามารถเกิดขึ้นได้en
dc.description.abstractalternativeTests Jack Fuller's concept about the usage of rhetoric in the crime news of daily newspapers. Analyzes the content of nine crime news during January to June 2000 and in-depth interviews with two of mass communication educators and journalists. The research found that all nine crime news, reported on Thai Rath and Kao Sod newspapers presented the story according to the concept of rhetoric in the news. The news had main theme that was used as outline or plot of this story. The mentioning of people in the news was similar to characters in novel. The dialogue or conversations, commentory including atmosphere were reported descriptively with style. Reading news was similar to reading novel. The reporters also used descriptive words to build pictures and feeling to the readers. All of mass communication educators and journalists agree that newspaper is a mass communication media that has to compete with other media such as radio, internet and other business related media. Thus, to survive in the business world, daily newspaper publishers increasingly adapt this approach of news reporting. The newspaper publishers should also consider the possible impacts that may result from this style of reporting the crime news.en
dc.format.extent1411973 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.274-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อข่าวและการเขียนข่าวen
dc.subjectหนังสือพิมพ์ -- ภาษาen
dc.subjectอาชญากรรมกับหนังสือพิมพ์en
dc.titleวิเคราะห์วาทศิลป์ในข่าวอาชญากรรมของหนังสือพิมพ์รายวันen
dc.title.alternativeAnalysis of rhetoric in the crime news of daily newspapersen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวารสารสนเทศen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSukanya.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.274-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
BoonchaiSripra.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.