Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35429
Title: การศึกษาความชุกของการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมยีนวีคอซีวันตำแหน่ง – 1639 ในผู้ป่วยผู้ใหญ่ไทยที่รับประทานยาวอร์ฟารินและมีระดับไอเอ็นอาร์มากกว่าสี่ และการตอบสนองต่อวิตามินเคชนิดรับประทานขนาด 1 มิลลิกรัมในการต้านฤทธิ์ยาวอร์ฟาริน
Other Titles: Prevalence of VKORC1 single nucleotide polymorphism – 1639 in Thai adult patients who have INR more than 4 from warfarin and responses to 1 mg oral vitamin K for warfarin reversal
Authors: รวิสุต เดียวอิศเรศ
Advisors: พลภัทร โรจน์นครินทร์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
Advisor's Email: Ponlapat.R@Chula.ac.th
Subjects: เลือด -- การแข็งตัว
วิตามินเค
วาร์ฟาริน
Blood -- Coagulation
Vitamin K
Warfarin
Issue Date: 2551
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาหาความชุกของยีนวีคอซีวันตำแหน่ง -1639 ในผู้ป่วยที่รับประทานวอร์ฟารินเกินขนาดและดูผลของยีนวีคอซีวันต่อการตอบสนองหลังรับประทานวิตามินเคขนาด 1 มิลลิกรัม วิธีการวิจัย เป็นการศึกษาแบบพรรณนาไปข้างหน้าหาความชุกของยีนวีคอซีวัน -1639 ในผู้ป่วยที่รับประทานวอร์ฟารินและมีระดับ INR มากกว่าสี่และศึกษาประชากรกลุ่มย่อยที่รับประทานวิตามินเคขนาด 1 มิลลิกรัมแล้ววัดระดับ INR ซ้ำที่เวลา 24 และ 48 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลจุฬา ผู้ป่วยที่ต้องได้รับส่วนประกอบของเลือดและได้วิตามินเครูปแบบอื่นๆจะถูกคัดออกจากการวิจัย ผลการศึกษา จากผู้ป่วย 44 รายตรวจพบวีคอซีวัน -1639 ชนิด AA, AG และ GG ร้อยละ 59.1, 36.4 และ 4,5 ตามลำดับซึ่งเท่ากับความชุกในประชากรไทย และมีผู้ป่วยกลุ่มย่อยที่ได้รับวิตามินเค 31 รายระดับค่าเฉลี่ย INR ก่อนรับประทานวิตามินเคเท่ากับ 6.99 ± 3.44 ในกลุ่ม AA และ 6.64 ± 2.47 ในกลุ่ม nonAA (p=0.74) ระดับการลดลงของ INR ที่ 24 ชั่วโมงกลุ่ม AA เท่ากับ3.82 ± 2.34 ของกลุ่ม non AA เท่ากับ 3.86 ± 2.34, p=0.92 ( คิดเป็นร้อยละเท่ากับ 54.4 ± 16.4% เทียบกับ 55.0 ± 19.4%, p=0.83) ระดับการลดลงของ INR ที่ 48 ชั่วโมงเท่ากับ 4.18 ± 2.41 เทียบกับ 4.52 ± 2.52 , p=0.44 สำหรับกลุ่ม AA และ non AA ตามลำดับ( คิดเป็นร้อยละ 58.9±18.7% เทียบกับ 65.6±14.1%, p=0.42) สรุปผล : ยีนวีคอซีวัน -1639 ชนิดที่ไวต่อวอร์ฟารินไม่สัมพันธ์กับการเกิดระดับ INR ที่มากกว่าสี่และไม่สามารถคาดคะเนการตอบสนองต่อวิตามินเคชนิดรับประทาน
Other Abstract: Objective: The aim is to study prevalence of VKORC1 single nucleotide polymorphism – 1639 in Thai adult patients who have warfarin overdosage and responses to oral vitamin K for warfarin reversal Method: A prospective descriptive study was conducted in patients taking warfarin with INR over 4.0. They were subjected to VKORC1 -1639 genotyping. A subset of cases were included in the prospective trial using 1 mg oral vitamin K therapy to observe INR declines at 24 and 48 hrs. Patients who received blood products or other doses or routes of vitamin K were excluded from this cohort. Result: From 44 cases, the prevalence of VKORC1 -1639 were 59.1% for AA, 36.4% for AG and 4.5% for GG similar to general Thai population. Thirty-one patients were uniformly treated solely by 1 mg oral vitamin K. The baseline INR levels were 6.99 ± 3.44 (mean ± SD) for AA and 6.64 ± 2.47 for non-AA polymorphism (p=0.74). The mean INR decreases after vitamin K administrations in AA vs non-AA groups were 3.82 ± 2.34 vs 3.86 ± 2.84, p=0.92, (54.4 ± 16.4% vs 55.5 ± 19.4%, p=0.83) at 24 hrs and 4.18 ± 2.41 vs 4.52 ± 2.52, p=0.44 (58.9 ± 18.7% vs. 65.6 ± 14.1%, p=0.42) at 48 hrs respectively. Conclusion: Our results imply that VKORC1 -1639 polymorphism is not a strong predisposing factor for warfarin overdose. In addition, the preliminary data suggest that these genotypes probably have no clinically significant difference in responses to low dose oral vitamin K corrections of over-anticoagulation.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: อายุรศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35429
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.659
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2008.659
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rawisut_de.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.