Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาล-
dc.contributor.authorขวัญหทัย อิ่นแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-09-16T03:26:12Z-
dc.date.available2013-09-16T03:26:12Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35915-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ขั้นตอนการพัฒนาแบบจำลองความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่การก่อสร้างโรงไฟฟ้า และศึกษาตัวแปรในแบบจำลองความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่การก่อสร้างโรงไฟฟ้า ในบริเวณพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิง ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ ที่เป็นขนาด IPP (Independent Power Producer) และในโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิง ชีวมวล ที่เป็นขนาด SPP (Small Power Producer) ทั้งหมดจำนวน 6 โรง ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้จากการสุ่มตัวอย่างครัวเรือนจำนวน 600 ครัวเรือน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รัศมี 5 กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้าใน 6 พื้นที่ศึกษา โดยให้หัวหน้าครัวเรือนเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลด้วยวิธี Regression ทำให้ได้แบบจำลองมูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนออกมา ผลการศึกษาพบว่ามูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่โรงไฟฟ้าราชบุรีเฉลี่ย 628,841,377.70 บาท / ปี มูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่โรงไฟฟ้าบีแอลซีพีเฉลี่ย 936,248,380 บาท / ปี มูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะเฉลี่ย 109,978,920.70 บาท / ปี มูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่โรงไฟฟ้าจะนะเฉลี่ย 1,313,405,335 บาท / ปี มูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่โรงไฟฟ้าบริษัท ด่านช้าง ไบโอ-เอ็นเนอร์ยี จำกัดเฉลี่ย 119,629,692 บาท / ปี มูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่โรงไฟฟ้าบัวสมหมายเฉลี่ย 169,383,497 บาท / ปี สำหรับ Common Factor ที่มีความสัมพันธ์กับความเต็มใจยอมรับได้แก่ จำนวนชั่วโมงที่ได้รับผลกระทบ ระยะห่างจากโรงไฟฟ้า และระยะเวลาที่อาศัยในภูมิลำเนา ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อเสนอแนะในการหามูลค่าความเต็มใจยอมรับของประชาชนในแต่ละพื้นที่การก่อสร้างโรงไฟฟ้าและใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายของการให้สิทธิประโยชน์กับประชาชนในแต่ละพื้นที่เมื่อมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้าen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to achieve the development of willingness to accept model in the area of the power plant and to study the variables that affect the willingness to accept in the area around IPP (Independent Power Producer) and SPP (Small Power Producer) of total 6 power plants. In this study, power plants that use coal, natural gas were selected as IPP and power plants that use biomass were selected as SPP. 600 households were randomly selected from people who live within a 5 kilometers radius. Data was obtained by interviewing the head of each household. The model of willingness to accept was identified by regression. The results showed that the average value of willingness to accept of people living around Ratchaburi power plant are 628,841,377.70 bath / year, BLCP power plant 936,248,380 bath / year, Maemoh power plant 109,978,920.70 bath / year, Chana power plant 1,313,405,335 bath / year, Dan Chang Bio-Energy power plant 119,629,692 bath / year and Buasommai power plant 169,383,497 bath / year. The common factors that affect the willingness to accept are effected hour, distances and duration living in residence. This study can be used as a suggestion for the willingness to accept in the construction power plant area and can be used as a guide for the policy of providing benefits to people in the construction power plant area.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.645-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้าen_US
dc.subjectการยอมรับทางสังคมen_US
dc.subjectElectric power-plantsen_US
dc.subjectSocial acceptanceen_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองความเต็มใจยอมรับของประชาชนในพื้นที่การก่อสร้างโรงไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeDevelopment of willingness-to-accept model development in power plant construction areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorrsuthas@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.645-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kwanhatai_in.pdf5.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.