Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35997
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนัย ทายตะคุ-
dc.contributor.authorกังวาน พิพิธพงศ์สันต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialเชียงใหม่-
dc.date.accessioned2013-09-28T09:36:26Z-
dc.date.available2013-09-28T09:36:26Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35997-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ที่ดิน ต่อระบบอุทกนิเวศ มีวัตถุประสงค์คือ ประการที่หนึ่ง เพื่อทำความเข้าใจในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมผิวดินที่ส่งผลต่อระบบอุทกนิเวศ โดยมีกรอบแนวคิดในด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ และกระบวนการอุทกวิทยา ประการที่สอง เพื่อทำการศึกษาวิธีการและการวิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่เกิดขึ้นกับระบบอุทกนิเวศ ประการที่สาม เพื่อนำเสนอผลการวิเคราะห์ ที่สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อระบบอุทกนิเวศ และเสนอแนะแนวทางการศึกษาความสัมพันธ์ของระบบอุทกนิเวศกับงานภูมิสถาปัตยกรรม การศึกษาและการวิเคราะห์ผลกระทบทางอุทกวิทยา จากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมผิวดิน ด้วยการป้อนข้อมูลการใช้ที่ดินจากการจำลองการเปลี่ยนแปลง 3 แบบและจากข้อมูลที่เป็นอยู่จริงในปัจจุบัน รวมทั้งข้อมูลทางด้านอุทกศาสตร์ ลงในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ WIN TR-55 เพื่อประเมินและเปรียบเทียบผลของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อระบบอุทกนิเวศ โดยใช้พื้นที่บ้านแม่แอนเป็นกรณีศึกษา ผลการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมผิวดิน เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ผิวซึ่งไม่สามารถซึมซับน้ำได้ จะส่งผลต่อ ปริมาณน้ำท่าที่เพิ่มขึ้น อัตราการไหลสูงสุดสูงขึ้น และระยะเวลาการไหลรวมตัวของน้ำในลำน้ำเร็วขึ้น และเมื่อมีการลดลงของปริมาณพื้นที่ผิวซึ่งไม่สามารถซึมซับน้ำได้ จะส่งผลต่อ ปริมาณน้ำท่าที่ลดลง อัตราการไหลสูงสุดต่ำลง และระยะเวลาการไหลรวมตัวของน้ำในลำน้ำช้าลง อย่างไรก็ตามงานวิจัยนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษา ความสัมพันธ์ของระบบอุทกนิเวศกับงานภูมิสถาปัตยกรรม เพื่อเป็นแนวทางสู่การออกแบบที่คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study are as following: 1. to understand the effects of land use and land cover changes on hydro-ecosystem by using conceptual framework of landscape change and hydrological process. 2. To study the method and the analysis of the impact that occurs on the hydro-ecosystem. 3. to present the results of analysis that explains the effects of changes on the hydro-ecosystem and to suggest a framework to study the relationship between hydrological system and landscape architecture. By using the area of Baan Mae Ann as a case study, the study and analysis was done by entering the land-use data from 3 different models, the current data, and also the hydrological data into mathematical model (WIN TR-55) to evaluate and compare the result of the impacts to the hydrological system. The results showed that the changes of land use and land cover while there is an increase of impervious surface area will cause the increased runoff, peak flow rate rising, and shorten period the time of concentration in the river. On the other hand decreasing of impervious surface area will result decreasing of runoff and peak flow rate, and longer period the time of concentration in the river. However, this research is the beginning of the study on the relationship between hydrological system and landscape architecture. This will be used as a guide to the design that considers the environmental impact in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1029-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการใช้ที่ดิน -- ไทย -- บ้านแม่แอน (เชียงใหม่)en_US
dc.subjectสิ่งปกคลุมดิน -- ไทย -- บ้านแม่แอน (เชียงใหม่)en_US
dc.subjectอุทกวิทยา -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectLand use -- Thailand -- Ban Mae Ann (Chiangmai)en_US
dc.subjectLand cover -- Thailand -- Ban Mae Ann (Chiangmai)en_US
dc.subjectHydrology -- Mathematical modelsen_US
dc.titleการศึกษาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมผิวดิน ที่ส่งผลต่อระบบอุทกนิเวศ กรณีศึกษา บ้านแม่แอน ต.ห้วยทราย อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffect of landuse and land cover change on hydro-ecosystem : case study ; Mae Ann Tambon Huay Sai, Amphor Mae Rim, Chiangmaien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDanai.Th@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1029-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kangwarn_pi.pdf15.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.