Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorปฐมพงศ์ เอี่ยมบุญฤทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-09T02:31:51Z-
dc.date.available2013-10-09T02:31:51Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36038-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างรูปแบบบูรณาการระบบบริหารความเสี่ยงกับการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพ (Balanced Scorecard) โดยศึกษาแนวทางการสร้างรูปแบบบูรณาการกับบริษัท เอ แนวคิดการบูรณาการระบบบริหารความเสี่ยงกับการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพมาจากการศึกษาทฤษฎีการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพแล้วพบจุดอ่อนที่ยังขาดมุมมองด้านการบริหารความเสี่ยง การสร้างรูปแบบบูรณาการจะเริ่มจากการศึกษาวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ และการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพเดิม พบว่ายังขาดความสมดุลทั้ง 4 มุมมองตามหลักของการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพ จากนั้นจึงทำการสร้างการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับผู้บริหาร ระดับหัวหน้าฝ่าย และระดับพนักงาน ต่อมาได้จัดทำ RMBSC WORKSHEET ทั้ง 3 ระดับ เพื่อเป็นรูปแบบที่แสดงด้านเป้าหมายและความเสี่ยง จากนั้นจึงทำการระบุ วิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยง พบว่าบริษัท เอ มีความเสี่ยงระดับรุนแรง 22 ตัว ซึ่งแบ่งเป็นความเสี่ยงระดับผู้บริหาร 4 ตัว ความเสี่ยงระดับหัวหน้าฝ่าย 15 ตัวและความเสี่ยงระดับพนักงาน 3 ตัว ผลลัพธ์จากการวิจัย คือ การบูรณาการระบบบริหารความเสี่ยงกับการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพ สามารถช่วยลดโอกาสของความเสี่ยงจากการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้ 4 มุมมองได้ร้อยละ 64 จากนั้นจึงทำการประเมินรูปแบบบูรณาการเปรียบเทียบก่อนและหลังใช้ในบริษัท เอ พบว่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.39en_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis is to build the integration system of risk management and balanced Scorecard. The integration system is applied in A company. Concepts of integration system of risk management and balanced scorecard by studying balanced scorecard theory found that the weakness of balanced scorecard lack perspective of risk management The process of building the integration system begin with four factors; vision mission objectives and balanced scorecard A company lack balance in all four perspectives Second, The building BSC cover three level; executive department and personnel. Third, the building RMBSC WORKSHEET in all three levels in order to illustrate goal and risk. Fourth, risk identification risk analysis and risk evaluation found that A company has twenty two extreme level risk which is divide into three sections. There was four risk, fifth teen risk, and three risk in executive department and personnel level respectively.The result is integration system which help reduce likelihood of risk unachieved objectives under four perspectives get 64%. Then evaluation of integration system compare between before and after implementation in A company found that increase 39.39%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1387-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงen_US
dc.subjectประกันชีวิตen_US
dc.subjectRisk managementen_US
dc.subjectLife insuranceen_US
dc.titleการบูรณาการระบบบริหารความเสี่ยงกับการประเมินประสิทธิภาพแบบดุลยภาพ กรณีศึกษา : อุตสาหกรรมบริการประเภทธุรกิจประกันชีวิตen_US
dc.title.alternativeIntegration of risk management and balanced scorecard case study : service industry of life insurance companyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDamrong.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1387-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pathompong_em.pdf16.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.