Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36095
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบรรเจิด จงสมจิตร-
dc.contributor.authorจีรติ อบอาย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-10T04:20:26Z-
dc.date.available2013-10-10T04:20:26Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36095-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เน้นศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของถ่านกัมมันต์และประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์ โดยใช้ถ่านกัมมันต์จากกากของรำข้าวที่ผ่านการคาร์บอไนซ์ที่อุณหภูมิ 850 องศาเซลเซียสและไม่ได้ผ่านการคาร์บอไนซ์ก่อนถูกกระตุ้นด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิ 700 800 และ 900 องศาเซลเซียส พบว่า ถ่านกัมมันต์ที่ถูกคาร์บอไนซ์ที่ให้พื้นที่ผิวสูงกว่าถ่านกัมมันต์ที่ไม่ได้ผ่านการคาร์บอไนซ์ และถ่านกัมมันต์ที่ถูกคาร์บอไนซ์ก่อนกระตุ้นด้วยไอน้ำที่ที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส มีพื้นที่ผิวสูงที่สุดเท่ากับ 184 ตารางเมตร/กรัม เมื่อนำถ่านกัมมันต์เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้เป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์ พบว่า เกิดเป็นปฏิกิริยารีเวร์อสวอเทอร์แก็สชิพ โดยได้แก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์เป็นผลิตภัณฑ์ และมีค่าคอนเวอร์ชันที่ดีที่สุดเท่ากับ 14.44 %en_US
dc.description.abstractalternativeThis research focuses on the characteristics of activated carbon (AC) and performance of AC-supported cobalt catalysts for CO₂ hydrogenation. The activated carbons derived from deoiled rice bran were carbonized at 850 °C and non-carbonized before activation by steam at 700, 800 and 900 °C. This research shows that the carbonized activated carbons exhibited a higher surface area than the non-carbonized activated carbons and the carbonized AC were activation by steam at 800 °C exhibited the highest surface area which equal to 184 m²/g. Then, all of activated carbons were used as catalyst support for cobalt catalyst for CO₂ hydrogenation. It was found that reverse water gas shift reaction simultaneously occurred having carbon monoxide as a product which had the best conversion at 14.44 %en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.711-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์en_US
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์en_US
dc.subjectไฮโดรจีเนชันen_US
dc.subjectรำข้าวen_US
dc.subjectถ่านไม้en_US
dc.subjectCatalystsen_US
dc.subjectCobalt catalystsen_US
dc.subjectCarbon, Activateden_US
dc.subjectHydrogenationen_US
dc.subjectRice branen_US
dc.subjectCharcoalen_US
dc.titleการกระตุ้นถ่านที่ได้จากกากของรำข้าวด้วยไอน้ำและการประยุกต์ใช้เป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.title.alternativeActivation of carbon derived from rice bran residues by steam and its application as catalyst supporten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorbunjerd.j@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.711-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jeerati_ob.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.