Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์-
dc.contributor.authorอาทิตย์ษณีย์ เจริญรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.date.accessioned2013-10-16T01:41:14Z-
dc.date.available2013-10-16T01:41:14Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36182-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สภาพการจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของ โรงเรียนแต่ละเหล่า ศึกษาความต้องการในการจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของนักเรียนแต่ละเหล่า และเพื่อเปรียบเทียบความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของนักเรียนแต่ละ เหล่า ในด้านบุคลากร ด้านกิจกรรมกีฬาและการออกกำลังกาย ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความ สะดวก และด้านการจัดการ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนแต่ละเหล่า จำนวน 339 นาย โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออกกำลัง กายของนักเรียนแต่ละเหล่า โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way analysis of variance: ANOVA) ในกรณีที่พบความแตกต่าง จะวิเคราะห์ความแตกต่างนั้นเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ (Scheffe’s method) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนแต่ละเหล่า มีความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออกกำลังกาย โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. นักเรียนที่สังกัดโรงเรียนต่างกัน มีความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออก กำลังกาย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study and to compare sports and exercise management of each cadet school and to find the differences between their needs for sports and exercise management as well as the resources needed for sports and exercise management. Three hundred and thirty nine cadet students from Army Cadet, Air Force Cadet, Navy Cadet and Police Cadet were randomly taken to be the sample of the study. The information was collected through questionnaires, and was analyzed statistically by finding frequency, percentage, average, and standard deviation. One-Way analysis of variance (ANOVA) was used to compare needs for sports and exercise management of the four Royal Thai Cadet Schools. If the results were statistically different at the level .05, Scheffe’s method was then employed. The results were as follow: 1. Cadet students from all Royal Thai Cadet Schools highly needed better sports management resource. 2. Cadet students from different cadet schools needed different better sports management resource at a significant level of .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1098-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการออกกำลังกาย -- การจัดการen_US
dc.subjectโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าen_US
dc.subjectโรงเรียนนายเรือen_US
dc.subjectโรงเรียนนายเรืออากาศen_US
dc.subjectโรงเรียนนายร้อยตำรวจen_US
dc.subjectExercise -- Managementen_US
dc.subjectChulachomklao Royal Military Academyen_US
dc.subjectRoyal Thai Naval Academyen_US
dc.subjectRoyal Air Force Academyen_US
dc.subjectRoyal Police Cadet Academyen_US
dc.titleการจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของโรงเรียนแต่ละเหล่าen_US
dc.title.alternativeSports and exercise management of each cadet schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortonchaipat@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1098-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
artitsanee_ch.pdf6.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.