Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorวรัทย์ ศรีพิพัฒนกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-11T03:36:39Z-
dc.date.available2013-12-11T03:36:39Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37414-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการประเมินต้นทุนสังคมของโรงไฟฟ้าในปี 2553 โดยคิดมูลค่าผลกระทบทางด้านสุขภาพประชาชนจากมลพิษทางอากาศ ของโรงไฟฟ้าถ่านหิน รวมทั้งเปรียบเทียบต้นทุนสังคมที่ได้กับอัตราการจ่ายเงินเข้ากองทุนพัฒนาโรงไฟฟ้า ด้วยการใช้แนวทาง Impact Pathway Approach (IPA) โดยรวบรวมข้อมูลปริมาณสารพิษในอากาศได้แก่ SO2 NOx และ PM10 ที่ปล่อยจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน และใช้แบบจำลอง HYSPLIT เพื่อประเมินความเข้มข้นของมลพิษที่เพิ่มขึ้นในอากาศ จากนั้นนำข้อมูลผลกระทบด้านสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ จากงานวิจัยต่างๆ โดยใช้หลักการ Exposure-Response Function (ERF) มาวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ และประเมินมูลค่าต้นทุนสังคมของโรงไฟฟ้าด้วยวิธีประเมินมูลค่าชีวิตเชิงสถิติ (Value of Statistical Life: VSL) เพื่อประเมินมูลค่าผลกระทบทางสุขภาพให้เป็นตัวเงิน ผลการศึกษาพบว่าแนวทาง IPA เป็นวิธีหนึ่งที่เหมาะสมในการประเมินต้นทุนสังคมด้านผลกระทบสุขภาพที่เกิดจากโรงไฟฟ้า เนื่องจากมีการนำปัจจัยต่างๆที่สัมพันธ์กับผลกระทบมาวิเคราะห์อย่างครอบคลุมทุกด้านและเป็นระบบ และผลจากการวิเคราะห์ต้นทุนสังคมที่เกิดจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในปี 2553 คิดเป็นเงิน 0.00011 - 0.00019 สตางค์ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) หรือเทียบเท่ากับ 183,889.92 – 316,507.20 บาทต่อปี ซึ่งจะเห็นได้ว่าค่าที่ได้ค่อนข้างต่ำ เนื่องจากขอบเขตการศึกษาเจาะจงเฉพาะผลกระทบที่มีต่อประชาชนในจังหวัดลำปางเท่านั้น อีกทั้งปัจจุบันโรงไฟฟ้าได้ใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพมาช่วยลดมลภาวะที่เกิดขึ้นจากการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน ส่วนการเปรียบเทียบกับการจ่ายเงินเข้ากองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าในอัตรา 0.0143 บาทต่อ kWh จะเห็นว่าอัตราที่โรงไฟฟ้าจ่ายเงินเข้ากองทุนนั้นครอบคลุมต้นทุนสังคมที่เกิดขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study the social cost assessment method of air pollution from coal fired power plant and compare its monetary value with the contribution rate to Power Development Fund. The researcher applied the impact pathway approach (IPA) through compilation of SO2 NOx and PM10 emission from coal fired power plant and used HYSPLIT model to simulate the emissions, transport, dispersion, and deposition of pollutants. Subsequently, damages to public health were quantified by Exposure Response Function (ERF) and the monetary value of such impacts was calculated by Value of Statistical Life (VSL). The results show that 1) IPA is an appropriate way to analyze the social cost because of its complete chain of causal relationships from source of the emission through monetization of health endpoints. 2) the damage costs range between 0.00011 - 0.00019 satang per kWh or 183,889.92 – 316,507.20 THB per year. The cost is relatively small due to the study area which is limited within Lampang province, together with the clean technology that helps reduce pollutants from coal fired power generation. When compared the social cost in this study to a contribution rate of 0.0143 THB per unit, it is found that the rate collected from the power plant to the fund is reasonable and covering the whole social cost of health impacts.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1097-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้าพลังถ่านหิน -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectสุขภาพen_US
dc.subjectการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพen_US
dc.subjectมลพิษทางอากาศen_US
dc.subjectCoal-fired power plants -- Effect of environment onen_US
dc.subjectHealthen_US
dc.subjectHealth risk assessmenten_US
dc.subjectAir -- Pollutionen_US
dc.titleการศึกษาต้นทุนสังคมของโรงไฟฟ้า กรณีศึกษา โรงไฟฟ้าถ่านหินen_US
dc.title.alternativeA study of social cost of power plant : the case of coal fired power planten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1097-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
warat_sr.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.