Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37596
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ริ้วไพบูลย์-
dc.contributor.authorอลิสรา หินชีระนันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-25T09:34:47Z-
dc.date.available2013-12-25T09:34:47Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37596-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างโมเดลและพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้ในการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ในขั้นตอนของการออกแบบด้วยแผนภาพคลาส โดยใช้มาตรวัดเชิงวัตถุที่สามารถคำนวณด้วยแผนภาพคลาส 11 มาตรวัด การคำนวณหาค่าคุณภาพของการออกแบบ และการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ที่สามารถวัดได้ 2 ระดับ คือ ระดับง่าย และระดับยาก จากนั้นทำการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปสร้างเป็นโมเดลการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ด้วยวิธีการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม ระบบที่นำมาใช้ในการทดลองมีจำนวน 13 ระบบ แบ่งออกเป็นระบบที่ใช้ในการสร้างโมเดล 10 ระบบ และระบบที่ใช้ในการทดสอบความถูกต้องของการทำงานของเครื่องมือการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ 3 ระบบ ผู้วิจัยได้ทำการพัฒนาเครื่องมือการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ด้วยภาษาซีชาร์ป ซึ่งข้อมูลนำเข้าสำหรับเครื่องมือ คือ แผนภาพคลาส ที่สร้างแผนภาพคลาสและแปลงแผนภาพคลาสให้อยู่ในรูปแบบของเอกสารเอ็กซ์เอ็มแอลด้วยโปรแกมสตาร์ยูเอ็มแอล ผลการวิเคราะห์จากการสร้างโมเดลการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ และผลการทดสอบความถูกต้องของเครื่องมือ พบว่าความสามารถในการยืดหยุ่น และความสามารถในการขยาย ซึ่งเป็นค่าคุณภาพของการออกแบบเป็นตัวแปรอิสระที่มีความเหมาะสมในการสร้างโมเดลการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ และเครื่องมือการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องตรงกับความต้องการในด้านหน้าที่และความต้องการที่ไม่ใช่หน้าที่en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to establish a model and the Maintainability Estimation Tool (MET) for measurement of maintainability in design phase from class diagram. This thesis uses eleven design metrics for class diagram and a design quality attributes in order to construct a maintainability estimation model. The model can identify two levels of maintainability, which are easy level and difficulty level. The data collected for establishing a model from ten systems and three systems for test functional requirements and non functional requirements of tool. This research constructs an automation tool developed with c# language. This tool are measuring software metrics and estimating a level of maintainability. The input data for this tool, which are an XML documents representing class diagram and exported from the StartUML tool. The results from constructing a maintainability estimation model found that flexibility and extendibility are independent variables for establishing a maintainability estimation model and the Maintainability Estimation Tool (MET) work correctly meets the functional requirement and non functional requirements.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1162-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectSoftware maintenanceen_US
dc.subjectSoftware architectureen_US
dc.titleการวัดความสามารถในการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ในขั้นตอนของการออกแบบen_US
dc.title.alternativeA measurement of software maintainability in design phaseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWanchai.R@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1162-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
alisara_hi.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.