Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40276
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนา ทองมีอาคม | - |
dc.contributor.author | โสภาวรรณ รัตนจิตรกร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2014-03-06T08:41:04Z | - |
dc.date.available | 2014-03-06T08:41:04Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40276 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง ทัศนคติ ตลอดจนข้อดีข้อด้อยของสื่อในสายตาของผู้ใช้บริการ เวิลด์ ไวด์ เว็บ และพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ ตลอดจนปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดการเปิดรับสื่อป้ายแบนเนอร์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ ใช้การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ โดยผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้เลือกตอบเอง จำนวน 512 ตัวอย่าง ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้ใช้บริการ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ส่วนใหญ่ทราบว่ามีการโฆษณาทางอินเตอร์เน็ตโดยใช้สื่อที่เรียกว่าป้ายแบนเนอร์ และมีทัศนคติในเชิงบวก โดยเห็นว่าป้ายแบนเนอร์มีประโยชน์ในเรื่องของการให้ข้อมูลรายละเอียดของสินค้าและบริการที่มากกว่าสื่ออื่นๆ และเป็นวิธีการประชาสัมพันธ์เว็บไซด์ได้ดีที่สุด แต่ในขณะเดียวกันผู้ใช้บริการมีความรู้สึกว่าสื่อป้ายแบนเนอร์เป็นสิ่งที่ก่อความรำคาญในการท่องเว็บ ในด้านความพึงพอใจโดยรวมแล้วผู้ตอบมีความรู้สึกเฉยๆ ต่อสื่อโฆษณาป้ายแบนเนอร์ ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เคยมีการเปิดรับสื่อโดยการคลิ๊กเข้าไปดูในรายละเอียดของป้ายแบนเนอร์ ซึ่งระยะเวลาในการใช้งานมีผลทำให้เกิดการเปิดรับที่มากขึ้น แต่เมื่อเปิดรับในครั้งแรกแล้วจะไม่มีการเปิดรับซ้ำ โดยปัจจัยหลักที่ทำให้มีการเปิดรับสื่อคือ ข้อมูลและเนื้อหาของป้ายแบนเนอร์มีเรื่องราวที่ผู้ใช้บริการสนใจ ส่วนในเรื่องข้อเสนอพิเศษ เช่น การแจกของฟรี เมื่อคลิ๊ก ตลอดจน เรื่องของรูปแบบของป้ายที่สวยงาม น่าตื่นเต้น ก็เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปิดรับเช่นเดียวกัน ในด้านของผู้ใช้บริการที่ไม่เคยเปิดรับสื่อป้ายแบนเนอร์มีเพียงส่วนน้อย โดยผู้ตอบให้เหตุผลว่า เสียเวลาในการ Download และเปลืองเวลาการใช้งาน และเห็นว่าเป็นโฆษณาเลยไม่ต้องการที่จะเปิดรับ เมื่อวิเคราะห์ถึงแนวโน้มการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีและจำนวนผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตที่มีอย่างต่อเนื่อง อาจกล่าวได้ว่าสื่อป้ายแบนเนอร์น่าจะได้รับการยอมรับและมีโอกาสที่จะได้รับความนิยมในหมู่นักการตลาดและนักโฆษณาในประเทศไทยมากขึ้น ควรที่จะมีการพัฒนาสื่อป้ายแบนเนอร์เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคให้ได้สูงสุด เช่น ควรคำนึงถึงในเรื่องของการออกแบบป้ายแบนเนอร์ที่สามารถแสดงให้เห็นได้อย่างรวดเร็ว ไม่เสียเวลาในการ Download ควรมีเนื้อหาที่น่าสนใจ ควรเลือกตำแหน่งที่เหมาะสม มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับข้อมูลในเว็บไซต์ที่ลงโฆษณา | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are; 1. To study the Thai WWW users' attitude and exposure toward "Banner" on the WWW. 2. To examine factors influencing users' exposure to "Banner" on WWW. 3. To examine users' attitudes toward the advantages and disadvantages to "Banner". The research methodology used in the study was a questionnaire survey. The questionnaire was posted on the WWW. A total of 512 respondents answered the question were used as the sample of the study. Results indicate that most of the WWW users are aware of advertising form on the Internal called "Banner" and they tent to have moderately positive attitude toward "Banners" that they provide more details of products and services and are considered as the best tool to promote the Web Site. Simultaneously, "Banners" also irritated them. Most of WWW users visited "Banner" and they usually do not click at the same "Banner". Content is the major factor that influences them to click at it. And for those who choose to visit, the reasons are wasting time and the felling of regection of advertising. It is evident that Technologies and the Internet users are increasingly growing. It is foreseeable that in the future, the WWW users will tend to have more positive attitudes toward "Banners". Therefore "Banners" should be developed to serve the target audiences' need. They should be creatively designed, having smaller file size, providing interesting content and showing the relevancy of content and position. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.324 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ผู้ใช้อินเตอร์เน็ต -- ไทย -- ทัศนคติ | en_US |
dc.subject | สื่ออิเล็กทรอนิกส์ -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | โฆษณาทางอินเตอร์เน็ต -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | Internet users -- Thailand -- Attitudes | en_US |
dc.subject | Digital media -- Psychological aspects | en_US |
dc.subject | Internet advertising -- Psychological aspects | en_US |
dc.title | ทัศนคติ พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ "ป้ายแบนเนอร์" ในระบบ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ของผู้ใช้บริการในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Thai users' attitude toward and exposure to "Banner" on the World Wide Web | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การโฆษณา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | tpana@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1999.324 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sopawan_Ra.pdf | 7.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.