Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4037
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเชษฐ์ ลิขิตเลอสรวง-
dc.contributor.authorธนกร ชมภูรัตน์, 2523--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-11T01:58:37Z-
dc.date.available2007-09-11T01:58:37Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741740751-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4037-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractเมื่อกล่าวถึงแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ของงานทางด้านวัสดุศาสตร์ โดยทั่วไปนั้นจะยึดเอาแนวทางของทฤษฎีของพลาสติกซิตี้มาใช้พิจารณาในการสร้างแบบจำลองสมการของความเค้นและความเครียด (Constitutive model) จากแนวทางดังกล่าวงานวิจัยนี้จะได้นำเสนอแบบจำลองพลาสติกซิตี้แนวทางใหม่มาประยุกต์ใช้ในงานด้านคอนกรีต โดยอาศัยทฤษฎีทางด้านไฮเปอร์พลาสติกซิตี้ (Hyperplasticity) ที่มาจากการนำหลักการทางอุณหพลศาสตร์มาพัฒนาแบบจำลองพลาสติก ซึ่งแบบจำลองแนวทางใหม่นี้สามารถความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียดได้จากฟังก์ชั่น 2 ชนิด นั่นคือ ฟังก์ชั่นพลังงาน (Energy function) และฟังก์ชั่นคราก (Yield function) รวมถึงในแบบจำลองนี้ได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎีกลศาสตร์ความเสียหายต่อเนื่อง (Continuum damage mechanics) ที่แสดงอยู่ในรูปของพารามิเตอร์ความเสีย (Damage parameter) และฟังก์ชั่นครากของความเสียหาย นอกจากนี้ยังได้นำเอาหลักการไคนีเมติกฮาร์ดเด้นนิ่ง (Kinematic hardening) เข้ามาใช้ ซึ่งในที่นี้จะใช้พารามิเตอร์ฮาร์เด้นนิ่งไม่เชิงเส้น (Non-linear hardening parameter0 ทั้งหมดนี้จากที่ได้ใช้หลักการต่างๆ ข้างต้นมาพิจารณาหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดที่ได้มาทำการเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากการทดสอบด้วยเครื่องมือ Universal testing machines (UTM) ภายใต้การรับแรงอัดและการรับแรงวัฏจักรแบบ 1 มิติ โดยที่ผลที่ได้จากการเปรียบเทียบดังกล่าวในงานวิจัยฉบับนี้ จะได้ชี้ให้เห็นว่าสามารถนำสมการความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดที่ได้จากแบบจำลองไฮเปอร์พลาสติกซิตี้นี้ไปใช้ทำนายพฤติกรรมของกำลังรับแรงอัดและกำลังรับแรงวัฏจักรโดยสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo model the stress-strain behavior of engineering materials, the plasticity theory is usually employed to define the constitutive law. This research introduces a new plasticity theory for applying to concrete material. This model focuses on the use of hyperplasticity based on the laws of thermodynamic. The constitutive equations can be derived from two scalar potentials functions: an energy function and a yiel function. In addition, the countinuum damage mechanics which is defined in terms of damage parameter and yield function is applied to this model. Furthermore, the kinematic hardening mechanism is included. A non-linear hardening parameter is selected. The entire principles as mentioned above are used to express the stress-strain relation. As a result, comparisons the model with the result tested by Universal testing machine (UTM) under the compressive strength and the cyclic strength of one dimension are considered. Finally, the model can be used to predict the compressive strength and the cyclic strength behavior. This can also be applied to numerical analysis in the futureen
dc.format.extent1091140 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.91-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการแตกร้าวen
dc.subjectคอนกรีตen
dc.subjectกลศาสตร์ความเสียหายen
dc.subjectไฮเปอร์พลาสติกซิตี้en
dc.titleแบบจำลองไฮเปอร์พลาสติกซิตี้ด้วยพารามิเตอร์ความเสียหายสำหรับคอนกรีตen
dc.title.alternativeHyperplasticity model with damage parameter for concreteen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่พบข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.91-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thanakorn.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.