Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย เอี่ยมอ่อง-
dc.contributor.advisorสมพงษ์ สุวรรณวลัยกร-
dc.contributor.authorณรงค์ศักดิ์ วัชโรทน, 2511--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-12T10:13:40Z-
dc.date.available2007-09-12T10:13:40Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743344918-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4076-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractศึกษาผลของสารสกัดจากกระเทียมเปรียบเทียบกับยา HMG-CoA Reductase Inhibitor ในการลดระดับพลาสมาแอลดีแอลคอเลสเตอรอล ในผู้ปลูกถ่ายไตเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิด atherosclerosis ของผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายไตซึ่งในการศึกษานี้ใช้ simvastatin 10 มิลลิกรัมต่อวัน หรือสารสกัดจากกระเทียม 900 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นระยะเวลานาน 3 เดือน หลังจากนั้นจะตามด้วย washout peroid อีก 6 สัปดาห์ และจะสลับการรักษาอีก 3 เดือน โดยจะมีการตรวจระดับไขมันก่อนและหลังการรักษาทุกครั้ง ผลการศึกษาพบว่ามีผู้ป่วยที่เข้าร่วมการศึกษาทั้งสิ้น 27 ราย จากการศึกษายา HMG-CoA reductase inhibitor สามารถลดระดับ cholesterol LDL-C ได้มากกว่าการลดลงจากการรักษาโดยใช้ สารสกัดจากกระเทียม 900 มิลลิกรัมต่อวัน ผู้ป่วยที่ได้รับสารสกัดจากกระเทียม 900 มิลลิกรัมต่อวัน ไม่พบว่ามีความแตกต่างของระดับไขมันก่อนและหลังการรักษา โดยสรุปสารสกัดจากกระเทียมขนาด 900 มิลลิกรัมต่อวันไม่สามารถแก้ไขความผิดปกติของระดับไขมัน ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายไตได้ ส่วนยา HMG-CoA reductase inhibitor หรือ simvastatin ขนาด 10 มิลลิกรัมต่อวัน สามารถลดระดับของ cholesterol และ LDL-C ในผู้ปลูกถ่ายไตที่มีความผิดปกติของระดับไขมันได้มากกว่า Garlic อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeTo comparision of efficacy between garlic powder extraction and HMG-CoA reductase inhibitor on reduced plasma LDL-C, a risk factor for atherosclerosis, in renal transplant recipients. Patients were received an HMG-CoA reductase inhibitor, 10 mg/d of simvatatin or garlic, 900 mg/d, for three months. This was followed by a no drug period of six weeks. The patients, then, were given another drug for 3 months and evaluated lipid profiles before and after treatment. Twenty-seven patients were included in the study. Patients treated with HMG-CoA reduction inhibitor had significant decreases in cholesterol and LDL-C (P<0.05). We found no changed on cholesterol, TG, HDL-C, LDL-C, ApoA, ApoB and Lp(a) after garlic treatment for 3 months. In Conclusion, garlic 900 mg/d could not correct dyslipidemia in post renal transplant recipients. HMG-CoA reduction inhibitor, 10 mg/d, decrease cholesterol and LDL-C better than garlic 900 mg/den
dc.format.extent9184293 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกระเทียมen
dc.subjectไต -- การปลูกถ่ายen
dc.subjectยาเฮชเอ็มจีโคเอรีดักเตสอินฮิบิเตอร์en
dc.subjectท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็งen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบผลของสารสกัดจากกระเทียม กับยาเฮชเอ็มจีโคเอรีดักเตสอินฮิบิเตอร์ ในการลดลงของระดับพลาสมาแอลดีแอลคอเลสเตอรอล ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายไตen
dc.title.alternativeComparision of efficacy between garlic powder extraction and HMG-COA reductase inhibitor on reduced plasma LDL-C in renal transplant recipientsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narongsak.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.