Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSivalee Suriyapee-
dc.contributor.authorPhakamart Thaoyabut-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicine-
dc.date.accessioned2014-03-20T07:10:18Z-
dc.date.available2014-03-20T07:10:18Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41564-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007en_US
dc.description.abstractComputed radiography (CR) has an important role in diagnostic imaging, because of its ease of use and fast processing. However, the patient radiation doses used is highly increased to support multi-resolution results. So it may cause some effects to a fetus in pregnant woman, especially in the first trimester. The purpose of this study is to determine the fetal doses calculating by exposure parameters and measuring with TLD-100 chips in RANDO phantom and to demonstrate the correlation between both methods. The calculation was performed for surface 3.0, 6.0 and 9.0 cm depths for the pelvis AP, abdomen AP and lumbo-sacral spine AP at surface 13.0, 16.0, 19.0 cm depths for lumbo-sacral spine lateral projection. The machines were Toshiba x-ray model KXO-80G and Fuji CR model XG 5000. Before using, the TLD-100 chips were calibrated with Cobalt-60 gamma rays for sensitivity, linearity and energy response. The average fetal doses at 6.0 cm depth in RANDO phantom measured with TLD-100 chips ranged from 0.83 to 1.39 mGy and the calculation were 0.62 to 1.03 mGy for pelvic AP. For abdomen AP, the measured fetal doses ranged from 0.55 to 0.87 mGy and the calculations were 0.36 to 0.67 mGy. For lumbo-sacral spine AP, the measured fetal dose ranged from 0.46 to 1.10 mGy and the calculations were 0.44 to 1.05 mGy. For lumbo-sacral spine LAT, the measured ranged from 0.15 to 0.20 mGy and the calculations were 0.13 to 0.24 mGy. The TLD doses were mostly higher than the calculated doses. The highest different value was 23.46% which observed at the surface, the difference was reduced to 19.19 % at the fetal depth. The dispersion may be caused mainly by the difference of the chamber type used for dose determination and also the parameters employed for calculation. The graph of fetal doses from measured with TLD-100 chips and parameter calculation showed a good correlation. The fetal doses of greater than 1.0 mGy which was the ICRP dose limit to the pregnant patient and radiation worker were observed in the measured with TLD-100 chips than the calculation. Therefore, the patients undergo the CR examination, estimated dose by exposure parameter will give under doses within 23%. When using parameter calculation, careful consideration should be kept in mind.en_US
dc.description.abstractalternativeปัจจุบันการถ่ายภาพรังสีด้วยเครื่องเอกซเรย์ระบบดิจิตอลได้เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากสำหรับการวินิจฉัยโรคในแผนกเอกซเรย์เนื่องจากใช้ง่ายและสะดวกในการใช้งาน แต่พบว่าปริมาณรังสีที่ใช้กลับมากขึ้นเพื่อรองรับการแสดงผลของภาพในระดับต่างๆ อย่างไรก็ตามหากนำมาใช้กับหญิงมีครรภ์โดยไม่ระมัดระวังก็อาจทำให้เกิดผลต่อตัวอ่อนในครรภ์โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ในระยะสามเดือนแรก จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อหาปริมาณรังสีจากหุ่นจำลองด้วยการวัดค่าปริมาณรังสีที่ได้จากอุปกรณ์วัดรังสีชนิดเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์ เปรียบเทียบกับปริมาณรังสีที่ได้จากการคำนวณด้วยตัวแปรต่างๆ จากการตั้งค่าในการถ่ายภาพรังสี เพื่อหาความสัมพันธ์ของค่าที่วัดได้จากทั้งสองวิธีนี้ ในการศึกษานี้ หุ่นจำลองถูกถ่ายภาพรังสีด้วยท่า pelvis AP, abdomen AP, lumbo-sacral spine AP และ lumbo-sacral spine LAT จากเครื่องเอกซเรย์ Toshiba รุ่น KX0-80G ซึ่งใช้ระบบรับภาพดิจิตอล Fuji รุ่น FCR XG 5000 ปริมาณรังสีที่ได้จะทำการเปรียบเทียบจากการคำนวณด้วยค่าพารามิเตอร์ต่างๆ จากการตั้งค่าเอ็กซโพสเชอร์ และจากการวัดด้วยเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์ ซึ่งเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์แต่ละตัวจะถูกคัดเลือกโดยดูจากค่าความไว ความสัมพันธ์ที่เป็นเส้นตรง และการตอบสนองต่อพลังงาน เปรียบเทียบกับ โคบอลต์-60 จากนั้น เทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์ ที่ได้จะถูกนำไปใส่ในหุ่นจำลองที่ตำแหน่งต่างๆ โดยที่ pelvis AP, abdomen AP และ lumbo-sacral spine AP วางบริเวณผิวระดับครรภ์ และลึกลงไป 3.0, 6.0 และ 9.0 เซนติเมตร และสำหรับ lumbo-sacral spine LAT วางบริเวณผิวระดับครรภ์ และลึกลงไป 13.0, 16.0 และ 19.0 เซนติเมตร ผลการทดลองพบว่า ปริมาณรังสีที่ตัวอ่อนได้รับ จาก ท่า pelvis AP วัดด้วยเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์มีค่าอยู่ในช่วง 0.83 ถึง 1.39 มิลลิเกรย์ และ จากการคำนวณ มีค่าอยู่ในช่วง 0.62 ถึง 1.03 มิลลิเกรย์, abdomen AP การวัดด้วยเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์มีค่าอยู่ในช่วง 0.55 ถึง 0.87 มิลลิเกรย์ จากการคำนวณ มีค่าอยู่ในช่วง 0.36 ถึง 0.67 มิลลิเกรย์, lumbo-sacral spine AP วัดด้วยเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์มีค่าอยู่ในช่วง 0.46 ถึง 1.10 มิลลิเกรย์ จากการคำนวณ มีค่าอยู่ในช่วง 0.44 ถึง 1.05 มิลลิเกรย์ และ lumbo-sacral spine LAT จากการวัดด้วยเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์มีค่าอยู่ในช่วง 0.15 ถึง 0.20 มิลลิเกรย์ และ จากการคำนวณ มีค่าอยู่ในช่วง 0.13 ถึง 0.24 มิลลิเกรย์ ซึ่งจะพบว่าค่าที่ได้จากเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์ นั้นสูงกว่าค่าที่ได้จากการคำนวณโดยค่าแตกต่างมากที่สุดคิดเป็น 23.46 เปอร์เซ็นต์ ที่ผิว และลดลงเหลือ 19.19 เปอร์เซ็นต์ ที่ระดับเด็กในครรภ์ ความคลาดเคลื่อนนี้คาดว่าเกิดจากหัววัดรังสีที่ใช้ในการทดลองและความคลาดเคลื่อนจากค่าพารามิเตอร์ต่างๆที่นำมาคำนวณ อย่างไรก็ตามเมื่อนำผลที่ได้จากทั้งสองวิธีมาวาดกราฟพบว่าผลการตอบสนองรังสีเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งการวัดปริมาณรังสีที่มากกว่า 1.0 มิลลิเกรย์ เป็นค่าที่กำหนดโดย ICRP พบว่าการใช้เทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์วัดได้ดีกว่าการคำนวณ ดังนั้นในการคำนวณหาค่าปริมาณรังสีในผู้ป่วยที่ตรวจด้วยเอกซเรย์ระบบดิจิตอลให้ค่าต่ำกว่าค่าจากการวัดด้วยเทอร์โมลูมิเนสเซนต์โดสมิเตอร์ประมาณ 23 เปอร์เซ็นต์ จึงควรพิจารณาเมื่อนำค่าเอ็กโพสเชอร์พารามิเตอร์มาใช้ในการคำนวณen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1801-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectRadiography, Medicalen_US
dc.subjectPregnant womenen_US
dc.subjectการบันทึกภาพด้วยรังสีทางการแพทย์en_US
dc.subjectสตรีมีครรภ์en_US
dc.titleFetal dose in rando phantom from computed radiography of abdomen, pelvis and lumbo-sacral spineen_US
dc.title.alternativeปริมาณรังสีเด็กในครรภ์จากการตรวจช่องท้องกระดูกเชิงกรานและกระดูกสันหลังส่วนเอวด้วยเอกซเรย์ระบบดิจิตอลในหุ่นจำลองen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineMedical Imagingen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSivalee.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1801-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phakamart_Th.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.