Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4157
Title: ระบบเฝ้าสังเกตจอภาพของผู้เรียนผ่านเครือข่ายในห้องเรียนคอมพิวเตอร์
Other Titles: Student's screen monitoring system via network in a computer classroom
Authors: กิติพงษ์ ตันโสภณธนาศักดิ์
Advisors: สาธิต วงศ์ประทีป
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: sartid@cp.eng.chula.ac.th, Sartid.V@Chula.ac.th
Subjects: การบีดอัดภาพ
ไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์
ระบบเฝ้าสังเกต
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ระบบเฝ้าสังเกตจอภาพของผู้เรียนผ่านเครือข่ายในห้องเรียนคอมพิวเตอร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบเฝ้าสังเกตของผู้เรียนผ่านเครือข่ายในห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โดยใช้ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ของภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นกรณีศึกษา เพื่อเป็นโปรแกรมช่วยการสอนในห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โดยไม่มีการต่ออุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติมจากระบบเครือข่ายปกติ ในการพัฒนาโปรแกรมแบ่งส่วนการทำงานออกเป็น 2 ส่วนหลักคือส่วนโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นไคล็เอ็นต์หรือ ส่วนโปรแกรมที่ทำหน้าที่เฝ้าสังเกตจอภาพของผู้เรียน ทำหน้าที่นำข้อมูลจอภาพมาแสดงผล และส่วนโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์หรือส่วนโปรแกรมที่ทำหน้าที่ส่งจอภาพของตนเองให้อีกฝ่ายที่เฝ้าสังเกต โดยการส่งผ่านข้อมูลใช้แอพพลิเคชันโปรโตคอลชื่ออาร์เอฟบี ที่ออกแบบขึ้นมาบนมาตรฐานของโปรโตคอลสื่อสาร ทีซีพี/ไอพี ผลการทดสอบโปรแกรมสามารถใช้งานได้กับห้องเรียนคอมพิวเตอร์ที่มีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ประมาณ 27 เครื่อง
Other Abstract: The objective of student's screen monitoring system via network in a computer classroom is to design and develop student's screen monitoring system via network in a computer classroom by using computer classroom of Computer Engineering Department, Faculty of Engineering, Chulalongkorn University as a case study. It is designed to help teachers in computer classrooms by a special hardware is not required to plug in the network. Development of the program can be divided by function into 2 sections. First section is a part of functionality as client that monitor student's computer screen and display screens. The later section is the part of functionality as server that send their screen to monitoring computers. A standard network protocol, TCP/IP, is used to send data with an application protocol, RFB. From th eresult, this program can be used in a computer's classroom with 27 microcomputers.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4157
ISBN: 9743342605
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kitipong.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.