Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42009
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ | - |
dc.contributor.author | แพรวดี ณ นคร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2014-04-01T04:08:46Z | - |
dc.date.available | 2014-04-01T04:08:46Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42009 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) กลยุทธ์การสร้างแบรนด์แอพพลิเคชั่นในองค์กรธุรกิจบริการ (2) พฤติกรรมของผู้บริโภคในการใช้แบรนด์แอพพลิเคชั่นขององค์กรธุรกิจบริการ และ (3) ประสิทธิผลของแบรนด์แอพพลิเคชั่นเพื่อส่งเสริมการตลาดในองค์กรธุรกิจบริการ ระเบียบวิธีวิจัยแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหาของแบรนด์แอพพลิเคชั่นในองค์กรธุรกิจบริการ และการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้ที่ออกแบบพัฒนาแอพพลิเคชั่น และผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวางกลยุทธ์ทางการตลาดของแบรนด์แอพพลิเคชั่นในธุรกิจบริการ (2) การวิจัยเชิงปริมาณ จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ที่ใช้แอพพลิเคชั่นขององค์กรธุรกิจบริการผ่านสมาร์ทโฟนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 412 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. กลยุทธ์ของการสร้างแบรนด์แอพพลิเคชั่นต้องวางวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ทราบถึงพฤติกรรมของผู้บริโภค แอพพลิเคชั่นที่สร้างขึ้นต้องอำนวยความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา ใช้งานง่าย ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง สร้างเป็นช่องทางการใช้บริการและการส่งเสริมการขาย มีส่วนของบัตรสมาชิกให้แก่ผู้บริโภค มีบริการระบุตำแหน่งและสถานที่ และสามารถทำงานได้ภายใต้ข้อจำกัดของเครือข่ายเทคโนโลยีความเร็วสูง 2. พฤติกรรมของผู้บริโภคในการเลือกใช้แบรนด์แอพพลิเคชั่นส่วนมาก คือ เลือกใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็วและประหยัดเวลา 3. ประสิทธิผลจากแบรนด์แอพพลิเคชั่นในองค์กรธุรกิจบริการ คือ เป็นช่องทางในการอำนวยความสะดวกในการให้บริการ และการส่งเสริมการขายที่ก่อให้เกิดรายได้ จากการที่ผู้บริโภคใช้แอพพลิเคชั่นซื้อบริการ หรือทำธุรกรรมทางการเงินผ่านสมาร์ทโฟน | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are: 1) to study the use of branded application in service businesses; 2) to study strategies used to promote branded application of service businesses; and 3) to investigate the effectiveness of branded application in supporting marketing functions in service businesses. In terms of methodology, two approaches were applied. 1) Qualitative research of content analysis of branded application in service business and in-depth interview with branded application designers and staff who are responsible for brand marketing strategic planning. 2) Quantitative research by surveying of 412 respondents in Bangkok who are users of smart phone and application of service businesses. Findings are: 1) Branded application creation requires clear objective and comprehension of customer behaviors. The application must provide convenience and allow timeliness manner, easy to operate and should accurately create new channel for customers to access to services and to enhance marketing alternatives. The application should offer membership program, location-based system, and compatibility with high-speed network. 2) The most common decisive factor for users in choosing to use branded application is convenience and quickness. 3) The effectiveness of using branded application in service businesses is its ability to be an alternative channel for customer to conveniently acquire services such as purchasing or making transaction via smart phone. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.39 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสร้างชื่อตราผลิตภัณฑ์ | en_US |
dc.subject | การจัดการตลาด | en_US |
dc.subject | ช่องทางการตลาด | en_US |
dc.subject | การตลาดอินเตอร์เน็ต | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมบริการ -- การตลาด | en_US |
dc.subject | Branding (Marketing) | en_US |
dc.subject | Marketing -- Management | en_US |
dc.subject | Marketing channels | en_US |
dc.subject | Internet marketing | en_US |
dc.subject | Service industries -- Marketing | en_US |
dc.title | กลยุทธ์และประสิทธิผลของแบรนด์แอพพลิเคชั่นในธุรกิจบริการ | en_US |
dc.title.alternative | Communication strategies and effectiveness of branded application in service business | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Yubol.B@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.39 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Praewadee_na.pdf | 10.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.