Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42091
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorเอกพันธ์ ทั่งทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-04-03T07:07:51Z-
dc.date.available2014-04-03T07:07:51Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42091-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความสูญเปล่าของ Internal Downtime ของกระบวนการผลิตอาบเคลือบแผ่นโลหะ โดยประยุกต์ใช้วิธีการปรับปรุงการทำงานแบบ MIPI (Model-base and integrated process improvement methodology) ซึ่งมีขั้นตอนที่สำคัญคือ การเลือกปัญหาที่มีผลกระทบต่อวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายขององค์กรมากที่สุดมาปรับปรุงก่อน จากการศึกษาพบว่า กระบวนการอาบเคลือบแผ่นโลหะในโรงงานกรณีศึกษาเป็นกระบวนที่ทำให้เกิดความสูญเปล่ามากที่สุดและเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายขององค์กร โดยมีสาเหตุมาจาก เครื่องอาบเคลือบแผ่นโลหะขัดข้องจากอุปกรณ์ ลูกยาง และใบมีด และการใช้เวลานานในการปรับตั้งค่า Dry Film Weight ซึ่งในขั้นตอนการออกแบบแก้ไขปรับปรุงกระบวนการทำงานประกอบด้วย 2 วิธี คือ การออกแบบการปรับปรุงการปฏิบัติงาน และการสร้างระเบียบวิธีการปฏิบัติงานในกระบวนการอาบเคลือบแผ่นโลหะใหม่เพื่อลดความสูญเปล่าในกระบวนการอาบเคลือบแผ่นโลหะ ผลที่ได้จากการนำมาตรฐานและแผนการปฏิบัติการทำงานใหม่มาทดลองกับเครื่องอาบเคลือบแผ่นโลหะเครื่องที่ 1 พบว่า สามารถทำให้ลดเวลาสูญเสียเฉลี่ยจากปัญหาลูกยางและใบมีดของเครื่องอาบที่ 1 จาก 17 ชั่วโมงต่อเดือนเป็น 11.85 ชั่วโมงต่อเดือน และจากการนำแผนปฏิบัติงานการปรับตั้งค่า Dry Film Weight ใหม่ไปประยุกต์ใช้ สามารถช่วยให้พนักงานประจำเครื่องอาบเคลือบที่ 1 ลดเวลาในการปรับตั้งค่า Dry Film Weight โดยมีเวลามาตรฐานใหม่ของการปรับตั้งค่า Dry Film Weight คือ 20 นาที 7 วินาที ซึ่งลดลงจากเวลามาตรฐานการปรับตั้งค่า Dry Film Weight เดิม 14 นาที 53 วินาที จากการลดเวลาสูญเสียดังกล่าวเป็นผลให้ปริมาณการผลิตเฉลี่ยต่อชั่วโมงของเครื่องอาบที่ 1 หลังการปรับปรุงมีค่าเพิ่มขึ้นจาก 4,084 แผ่นต่อชั่วโมงเป็น 4,187 แผ่นต่อชั่วโมงen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis was to reduce waste of Internal Downtime in metal sheet coating process. This thesis applied MIPI methodology. The major of Model-base and integrated process improvement methodology (MIPI Methodology) focuses on the problem selection that aligns with organizational vision and mission. After studying, the coating process in case study was the main problem which is barrier with organizational vision and mission. The causes of coating process problem were error setting coater machine (Dry Film Weight; DFW) and coater machine breakdown. The methods of problem solving consisted of design of improvement and new instruction to reduce waste and improve coating process. After implementing new work instruction on coating machine one. The results showed that, the average production time loss of coater machine breakdown problem was decreased 17 hours per month to 11.85 hours per month. Also the set up time was declined and the new standard time of set up (DFW) was 20 minutes 7 seconds. It is lower than the old standard time 14 minutes 53 seconds. These two implement plans lead to increasing production rate from 4,084 sheets per hour to 4,187 sheets per hour.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.619-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen_US
dc.subjectกระบวนการเคลือบผิวen_US
dc.subjectโลหะ -- พื้นผิวen_US
dc.subjectMetals -- Surfacesen_US
dc.subjectLoss controlen_US
dc.subjectCoating processesen_US
dc.titleการลดเวลาสูญเสียในกระบวนการอาบเคลือบแผ่นโลหะ : กรณีศึกษา โรงงานเคลือบแผ่นโลหะen_US
dc.title.alternativeProduction time loss reduction in metal sheet coating process : a case study of metal sheet coating factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJeirapat.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.619-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
eakphan_th.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.