Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีย์วรรณ อ่วมตานี-
dc.contributor.authorนิตยา ปรีชายุทธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-05-10T02:02:53Z-
dc.date.available2014-05-10T02:02:53Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42319-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยานี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความหมายของ ภาวะผู้นำตามแนวพุทธ และ ประสบการณ์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูล คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ใช้หลักธรรมของศาสนาพุทธในการปฏิบัติงาน จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกร่วมกับการบันทึกเทป ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์นำมาถอดความแบบคำต่อคำ และ วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษามีดังนี้ 1. ความหมายของภาวะผู้นำตามแนวพุทธ หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายไว้ 2 ประเด็น คือ 1.1 การปฏิบัติตนเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี 1.2 การนำองค์การให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2 ประสบการณ์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธของหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก คือ 2.1 นำหลักธรรมมาใช้ในการปฏิบัติตน ประกอบด้วย 7 ประเด็นย่อย ได้แก่ (1) รักษาศีล (2) ตั้งมั่นอยู่ในความยุติธรรม (3) สำรวจตนเอง (4) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง (5) พัฒนาตนเอง (6) มองคนอื่นในด้านดี และ (7) รู้จักอดทน 2.2 นำหลักธรรมมาใช้ในการบริหารงาน ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย ได้แก่ (1) มอบหมายงานให้เหมาะสม (2) ร่วมทุกข์ร่วมสุขในการปฏิบัติงาน (3) ปฏิบัติงานอย่างมีสติ และ (4) สอนงาน 2.3 นำหลักธรรมมาใช้ในการดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อย ได้แก่ (1) รู้จักให้ (2) ใช้คำพูดที่ดี (3) เปิดใจรับฟังความคิดเห็นคนอื่น (4) รู้จักการขอโทษ และ (5) ซื่อสัตย์ต่อกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this phenomenological study was to explore the meaning of Buddhist leadership and experiences of head nurses using Buddhist leadership in working. Study participants were fifteen head nurses who were willing to share their experiences. In-depth interview with tape-record was used to collect data. All interviews were transcribed verbatim and analyzed by using content analysis of Colaizzi. The study findings were as follows: 1. Head nurses gave two meanings of Buddhist leadership: 1.1 Practicing themselves to be a good model; and 1.2 Leading the nursing organization to earn optimal outcomes 2. Head nurses used Buddhist principles in working as follows: 2.1 Using Dhamma in practicing themselves, which composed of seven subcategories: (1) keeping with the moral code, (2) working with justice, (3) evaluating themselves, (4) being a good model, (5) developing themselves, (6) having positive attitude toward others, and (7) being patient. 2.2 Using Dhamma in administration, which composed of four subcategories: (1) assigning the right man to the right job, (2) sharing happiness and distress with colleagues, (3) having consciousness in working, and (4) coaching others. 2.3 Using Dhamma in caring for subordinates, which composed of five subcategories: (1) learning to give, (2) talking with good words, (3) being open-mined, (4) learning to apologize, and (5) being honest.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1337-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectภาวะผู้นำen_US
dc.subjectNursesen_US
dc.subjectLeadershipen_US
dc.titleประสบการณ์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธของหัวหน้าหอผู้ป่วยen_US
dc.title.alternativeThe Buddhist leadership experiences of head nursesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAreewan.O@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1337-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nitaya_Pr.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.