Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42409
Title: Biodiesel production from different palm-oil feedstocks with hydroprocessing process over Ni-Mo/Al₂O₃and Co-Mo/Al₂O₃ catalysts
Other Titles: การผลิตไบโอดีเซลจากสารป้อนปาล์มน้ำมันด้วยกรรมวิธีไฮโดรโพรเซสซิ่งบนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมและโคบอลต์โมลิบดินัมบนอะลูมินา
Authors: Narisara Rodboon
Advisors: Suttichai Assabumrungrat
Worapon Kiatkittipong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Suttichai.A@Chula.ac.th
Worapon.K@Chula.ac.th
Subjects: Palm oil
Biodiesel fuels
Catalysts
น้ำมันปาล์ม
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
ตัวเร่งปฏิกิริยา
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In this research, relevant palm oil i.e. degummed palm oil (DPO), refined palm stearin (RPS) including hard and soft stearin are employed as feedstock to produce bio hydrotreated diesel. The reaction was performed in parallel small batch reactor under reduced pressure of 50 bar catalyzed by sulfided NiMo/y-Al₂O₃ and CoMo/y-Al₂O₃ catalyst. CoMo catalyst shows much lower catalytic activity than NiMo catalyst at low opearting temperature (<360 °C) and become comparable to NiMo catalyst at higher temperature. However, NiMo catalyst generally gives higher selectivity of diesel range hydrocarbon therefore higher diesel yield. Under the defined operating condition, conversion (of triglyceride and fatty acid) could be in order of RPS hard > RPS soft > DPO which indicating that higher degree of saturation of feedstock lead to obtain higher conversion. Maximum of diesel range hydrocarbon yield of 71% could be obtained from RPS hard at reaction temperature of 360 °C for 4 h with sulfided NiMo/y-Al₂O₃ catalyst.
Other Abstract: ในงานวิจัยนี้ใช้สารป้อนจำพวกน้ำมันปาล์ม ได้แก่ น้ำมันปาล์มที่ผ่านการกระบวนการกำจัดยางเหนียว, น้ำมันปาล์มที่ผ่านการทำให้บริสุทธิ์จำพวกไขปาล์มในการผลิตไบโอดีเซล การทดลองทำในเตาปฏิกรณ์แบบกะขนาดเล็กภายใต้สภาวะความดันที่ 50 บาร์ โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมและโคบอลต์โมลิบดินัมบนตัวรองรับอะลูมินา จากการทดลองพบว่าเมื่ออุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาต่ำ (น้อยว่า 360 องศาเซลเซียส) ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์โมลิบดินัมมีความสามารถในการทำปฏิกิริยาดีกว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมและเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นความสามารถในการทำปฏิกิริยาของตัวเร่งทั้งสองมีค่าใกล้เคียงกัน ผลได้ดีเซลของตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมมีค่าสูงกว่าผลได้ดีเซลของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์โมลิบดินัมเนื่องจากตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมมีความสามารถในการเลือกเกิดสารผลิตผลในช่วงที่เป็นดีเซลได้ดีกว่า ภายใต้สภาวะการทำปฏิกิริยาที่กำหนดปริมาณของไตรกลีเซอไรด์และกรดไขมันที่ถูกใช้ในการทำปฏิกิริยาเรียงตามลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุดได้ดังนี้ ไขมันปาล์มชนิดแข็ง, ไขมันปาล์มชนิดอ่อนและน้ำมันปาล์มที่ผ่านกระบวนการกำจัดยางเหนียว ปริมาณของไตรกลีเซอไรด์และกรดไขมันที่ใช้ในการทำปฏิกิริยาจะมีค่าสูงขึ้นเมื่อค่าความอิ่มตัวของสารป้อนมีค่ามาก จากผลการทดลองพบว่าที่อุณหภูมิ 360 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 4 ชั่วโมงโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาซัลไฟต์ของนิกเกิลโมลิบดินัมไขมันปาล์มชนิดแข็งให้ค่าผลได้ของดีเซลสูงที่สุดคือ 71 เปอร์เซ็นต์.
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42409
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.519
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.519
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
narissara _Ro.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.