Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาวดี อร่ามวิทย์-
dc.contributor.advisorธนารัตน์ ชลิดาพงศ์-
dc.contributor.advisorศุภกร สิทธิไชย-
dc.contributor.authorอดิศร ผาสุขมูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T08:11:52Z-
dc.date.available2015-06-23T08:11:52Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42430-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการประมวลผลภาพวีดิทัศน์ระแวดระวังจากการทำงานร่วมกันของกล้องวีดิทัศน์เพื่อการติดตามบุคคลภายในอาคารมีบทบาทสำคัญในระบบระแวดระวังด้วยกล้องวีดิทัศน์ที่ชาญฉลาด สิ่งสำคัญสำหรับระบบการติดตามบุคคลด้วยกล้องวีดิทัศน์หลายตัว คือ การส่งต่อบุคคลจากกล้อง วีดิทัศน์ตัวหนึ่งสู่กล้องวีดิทัศน์อีกตัวหนึ่งด้วยความแม่นยำ แต่ในสถานการณ์ระแวดระวังที่กล้องวีดิทัศน์ในระบบมีมุมมองการรับภาพต่อบุคคลที่แตกต่างกัน อาจส่งผลให้การส่งต่อบุคคลระหว่างกล้องวีดิทัศน์นั้นผิดพลาดได้ เช่น การติดตั้งกล้องวีดิทัศน์ต่างสถานที่หรือต่างมุมมองการรับภาพ และการเคลื่อนที่ของบุคคล ซึ่งล้วนแล้วแต่ทำให้ลักษณะข้อมูลของบุคคลที่ได้รับจากแต่ละกล้องวีดิทัศน์มีความแตกต่างกัน จึงเป็นสาเหตุหลักของการติดตามบุคคลระหว่างกล้องวีดิทัศน์ที่ล้มเหลว วิทยานิพนธ์นี้เรียกปัญหาดังกล่าวว่า ปัญหาที่เกิดจากการติดตามบุคคลจากผลกระทบที่มุมมองของกล้องวีดิทัศน์แต่ละตัวในระบบเป็นอิสระจากลักษณะของบุคคล เทคนิคการสะสมลักษณะของบุคคลด้วยข้อมูลสีจึงถูกนำเสนอเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสในการส่งต่อบุคคลระหว่างกล้องวีดิทัศน์ที่มีความแม่นยำมากขึ้น นอกจากนี้หากพบว่ามีกล้องวีดิทัศน์มากกว่าหนึ่งตัวสามารถทำการติดตามบุคคลเดียวกันได้ ระบบจะทำการคัดเลือกกล้องวีดิทัศน์ที่มีมุมมองการรับภาพต่อบุคคลดังกล่าวที่ดีที่สุดอย่างอัตโนมัติ ซึ่งวิทยานิพนธ์นี้ได้นำผลลัพธ์จากการคัดเลือกกล้องวีดิทัศน์มาใช้ในการติดตามบุคคลซึ่งอยู่ในความสนใจด้วยการเคลื่อนที่ของกล้องวีดิทัศน์แบบส่ายและก้มเงย การประเมินค่าระบบการติดตามบุคคลถูกคำนวณให้อยู่ในรูปของค่าความแม่นยำและค่าเรียกกลับ ซึ่งวิธีการที่นำเสนอให้ผลการทดลองที่มีความแม่นยำและสมบูรณ์กว่าวิธีการติดตามบุคคลด้วยการทำงานร่วมกันของกล้องวีดิทัศน์ที่ใช้ในการอ้างอิงen_US
dc.description.abstractalternativeVideo surveillance processing for indoor person tracking has an important role in intelligent surveillance system. The essential step for further analysis of surveillance video is ability to transfer target object or person between two or more camera or camera handoff. Accurate camera handoff leads to accurate person tracking. The major drawback of camera handoff is the different person views of each cameras such as camera installation and persons movement. It is called the view-dependent appearance problem. A target modeling system which based on collection of color-based feature is proposed to increase the chances of camera handoff with more precision. When multiple cameras are used for tracking and where multiple cameras can see the same person, the system can automatically select the best-view camera or camera assignment. The selected camera can be used to follow an interested person by pan-tilt controlling. The performance evaluation of this system is in terms of precision and recall which outperform the reference method.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1025-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกล้องวีดิทัศน์en_US
dc.subjectวีดิทัศน์en_US
dc.subjectVideo tapesen_US
dc.titleการติดตามเป้าหมายด้วยกล้องส่าย-ก้มเงยที่ทำงานร่วมกันen_US
dc.title.alternativeTarget tracking with cooperative pan-tilt camerasen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSupavadee.A@chula.ac.th-
dc.email.advisorthanarat.c@chula.ac.th-
dc.email.advisorsupakorn.siddhichai@nectec.or.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1025-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
adisorn_pa.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.