Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิสุทธิ์ เพียรมนกุลen_US
dc.contributor.authorสุรีย์พร เบญจประดิษฐ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:22:21Z
dc.date.available2015-06-24T06:22:21Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42900
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันตัดด้วยกระบวนการร่วมระหว่างกระบวนการโคอะเลสเซอร์ กระบวนการทางไฟฟ้าเคมี และกระบวนการอัลตราฟิลเตรชัน เพื่อลดปริมาณการใช้สารเคมีและปริมาณตะกอนเคมีที่เกิดขึ้นจากการกระบวนการบำบัด โดยทำการศึกษาผลกระทบของลักษณะและความสูงของชั้นตัวกลาง อัตราเร็วการไหลของน้ำเสีย ชนิดขั้วไฟฟ้าและความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า จากการทดลองพบว่าสภาวะการเดินระบบที่เหมาะสม คือ ใช้ตัวกลางโคอะเลสเซอร์รูปทรงกระบอกกลวง โดยวางแบบสุ่มจนมีความสูงของชั้นตัวกลาง 10 เซนติเมตรอัตราเร็วการไหลของน้ำเสีย 2 เซนติเมตรต่อวินาที ใช้ขั้วไฟฟ้าอะลูมิเนียม โดยมีระยะห่าง 3 เซนติเมตร และใช้ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 10 แอมแปร์ต่อตารางเมตร และเมื่อน้ำเสียผ่านกระบวนการอัลตราฟิลเตรชันพบว่ากระบวนการร่วมให้ประสิทธิภาพบำบัด 99% เมื่อเติมแคลเซียมคลอไรด์ 2 กรัมต่อลิตร และเมื่อเติมแคลเซียมคลอไรด์ 6 กรัมต่อลิตร นอกจากนี้ยังพบอีกว่าการเติมแคลเซียม 6 กรัมต่อลิตรจะทำให้เมมเบรนอุดตันเร็วและค่าความขุ่นของน้ำทิ้งจะสูงกว่าการเติมแคลเซียมคลอไรด์ต่ำๆ เนื่องจากแคลเซียมคลอไรด์สามารถทำลายเสถียรภาพและทำให้อนุภาคน้ำมันเกิดการรวมตัวกันเป็นอนุภาคขนาดใหญ่ได้จำนวนมาก โดยข้อดีของการเดินระบบด้วยกระบวนการร่วมคือ กระบวนการร่วมให้ประสิทธิภาพการกำจัดความขุ่นสูง โดยมีต้นทุนในการเดินระบบและใช้พลังงานต่ำ ตัวกลางโคอะเลสเซอร์ที่เลือกใช้หาซื้อได้ง่ายและราคาถูก กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการเดินระบบต่ำ ดังนั้นอายุการใช้งานของขั้วไฟฟ้าจึงเพิ่มขึ้น และไม่ก่อให้เกิดตะกอนเคมีen_US
dc.description.abstractalternativeThe Objective of this research was to study the treatment of cuttimg oily-wastewater by in order to reduce the problem of chemical usage and sludge production from treatment process. The effect of shape and depth of media coalescer, flow velocity of wastewater, electrode type and current density. The result showed that the highest removal efficiency of 99% was achieved at the optimal condition, which was the usage media of coalescer is turbula shape at the bed length of 10 cm with flow velocity of 2 cm/s and usage of 2 aluminium electrodes with 3 cm in distance between plates,with the current density of 10 A/m2 and dosage of CaCl2 2 g/l and CaCl2 6 g/l. Moreover, usage of CaCl2 6 g/l make membrane fouling was faster than CaCl2 2 g/l and the turbidity of drain water was higher than CaCl2 2 g/l. Because high CaCl2 dosage can destabilize and make oil droplet size was larger. The advantages in combined process are highest removal efficiency, low operation cost less power consumption which could result in longer lifetime of electrodes and less sludge production.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.370-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด
dc.subjectการวิเคราะห์ทางเคมีไฟฟ้า
dc.subjectSewage -- Purification
dc.subjectElectrochemical analysis
dc.titleกระบวนการร่วมของโคอะเลสเซอร์ไฟฟ้าเคมี และอัลตราฟิลเตรชันสำหรับบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันen_US
dc.title.alternativeCOMBINED PROCESSES OF COALESCER, ELECTROCHEMISTRY AND ULTRAFILTRATION FOR TREATMENT OF OILY WASTEWATERen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpisut.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.370-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470433321.pdf5.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.