Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43013
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasert Pavasanten_US
dc.contributor.advisorTawan Sooknoien_US
dc.contributor.authorTitimat Suksawatsaken_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineeringen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:23:22Z
dc.date.available2015-06-24T06:23:22Z
dc.date.issued2013en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43013
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractThis work studied conversion of bagasse fly ash to sodium silicate synthesis and compared the yield of the total sodium silicate from bagasse fly ash (BFA) and acid washed bagasse fly ash (A-BFA). Sodium source employed here was sodium carbonate anhydrous (Na2CO3). Original bagasse fly ash contained mostly silica (63%wt) and other impurities, e.g. Al2O3, CaO, K2O, etc. which could be up to 20%wt. Upon the acid washing with hydrochloric acid, most impurities (16%) was removed. The synthesis of sodium silicate was investigated under the range of operating conditions as follows: precursor mole ratio of SiO2:Na2CO3 of (1:0.50-1:2.25), fused temperature (650-850oC) and reaction time (30-120 minutes). Yields of soluble/insoluble sodium silicate were 38%/18% and 45%/18% for BFA and A-BFA, respectively, which occurred at SiO2:Na2CO3 mole ratio of 1:1.25, fused temperature 830oC and reaction time of 60 minutes.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ศึกษาการเปลี่ยนเถาลอยชานอ้อยเป็นสารประกอบโซเดียมซิลิเกตและมีการเปรียบเทียบร้อยละผลได้ของโซเดียมซิลิเกตจากเถ้าลอยชานอ้อยที่ไม่ผ่านการล้างกรดและเถ้าลอยชานอ้อยที่ผ่านการล้างกรด โดยการสังเคราะห์จะมีการใช้สารโซเดียมเพื่อกระตุ้นซิลิกาให้เกิดการสร้างเป็นสารประกอบโซเดียมซิลิเกต โดยโซเดียมที่ใช้ในการกระตุ้นสำหรับงานวิจัยนี้คือโซเดียมคาร์บอเนต จากการศึกษาองค์ประกอบออกไซด์ส่วนใหญ่ของเถ้าลอยชานอ้อยคือซิลิกาซึ่งจะมีอยู่ประมาณ 63%โดยน้ำหนัก และมีสารองค์ประกอบอื่นๆที่ปนเปื้อนเช่นอะลูมิเนียมออกไซด์,แคลเซียมออกไซด์,โพแทสเซียมออกไซด์ เป็นต้น ซึ่งมีอยู่ประมาณ 20%โดยน้ำหนัก สำหรับการปรับปรุงเถ้าลอยชานอ้อยเพื่อกัดสารปนเปื้อนก่อนการสังเคราะห์ใช้เทคนิคการล้างกรดด้วยกรดไฮโดรคลอริก พบว่าสารองค์ประกอบอื่นๆที่ปะปนในเถ้าลอยสามารถถูกกำจัดออกไปได้มากถึง 16%โดยน้ำหนัก โดยงานวิจัยนี้มีการศึกษาผลของสภาวะในการสังเคราะห์โซเดียมซิลิเกตต่อร้อยละผลได้ของโซเดียมซิลิเกตที่เกิดขึ้นทั้งเถ้าลอยชานอ้อยที่ไม่ผ่านการล้างกรดและเถ้าลอยชานอ้อยที่ผ่านการล้างกรดภายใต้สภาวะการสังเคราะห์ด้วยอัตราส่วนโมลของสารตั้งต้นซิลิกาต่อโซเดียมคาร์บอเนต (1:0.50-1:2.25), อุณหภูมิ (650-850oC) และระยะเวลาของการสังเคราะห์ 30-120 นาที จากผลการศึกษาพบว่าร้อยละผลได้ของโซเดียมซิลิเกตในปริมาณสูงสามารถสังเคราะห์ด้วยด้วยสภาวะที่เหมาะสมต่อการสังเคราะห์คืออัตราส่วนสารตั้งต้นซิลิกาต่อโซเดียมคาร์บอเนตคือ 1:1.25, อุณหภูมิของการสังเคราะห์คือ 830oC โดยใช้ระยะเวลาของการสังเคราะห์ 60 นาที ซึ่งผลของการสังเคราะห์พบว่าร้อยละผลได้ของสารละลายโซเดียมซิลิเกตและโซเดียมซิลิเกตที่ไม่สามารถละลายน้ำคือ 38%/18% และ 45%/18% สำหรับซิลิกาจากเถ้าลอยชานอ้อยและเถ้าลอยชานอ้อยที่ผ่านการล้างกรดen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.478-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectChemical process
dc.subjectHydrochloric acid
dc.subjectSodium
dc.subjectSilica
dc.subjectกระบวนการทางเคมี
dc.subjectกรดไฮโดรคลอริก
dc.subjectโซเดียม
dc.subjectซิลิกา
dc.titleCONVERSION OF BAGASSE FLY ASH TO SODIUM SILICATEen_US
dc.title.alternativeการเปลี่ยนเถ้าลอยชานอ้อยเป็นสารประกอบโซเดียมซิลิเกตen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Engineeringen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineChemical Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorsupersert@gmail.comen_US
dc.email.advisorNo information provided
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.478-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570177821.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.