Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBunjerd Jongsomjiten_US
dc.contributor.authorSowadee Saisopaen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineeringen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:23:37Z
dc.date.available2015-06-24T06:23:37Z
dc.date.issued2013en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43043
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractIn this study, the effect of the various types and concentrations of alkylaluminum acting as scavenge impurities which contaminate in materials commonly used in polyolefin processes was studied on catalytic activity of supported metallocene catalyst and product properties. Alkylaluminum was divided into 2 types including triethylaluminum (TEA) and triisobutylaluminum (TiBA) used to investigate. The addition of alkylaluminum as scavenger is important and necessary in this polymerization process because without alkylaluminum to scavenge impurities rapid deactivation occurs. The concentration which reached maximum catalytic activity was found at 0.7, 1.2 mmol/L in hexane and 6.027, 8.603 kg.PE/g Cat.*h of TEA and TiBA, respectively in ethylene homopolymerization. Nevertheless, with excess concentration of scavenger, the catalytic activity is depressed. This is due to heterodinuclear complexes form which may inhibit or lower the catalytic efficiency. TEA can be presumed that facile the formation of heterodinuclear complexes than TiBA due to steric effect (or hindrance). Furthermore, TEA is a stronger reducing agent than TiBA to reduce Zr(IV) to Zi(III) states, which is inactive for ethylene polymerization. The melting temperature and the crystallinities of the polymers are, therefore, unaffected by the concentration of scavenger. For ethylene and 1-hexene copolymerization, the 1-hexene incorporation was not a function of the trialkylaluminum concentration. The effects of hydrogen have shown a decrease catalytic activity due to metal hydride complex formed leading to a lower propagation rate.en_US
dc.description.abstractalternativeในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับชนิดและความเข้มข้นของหมู่อะคิลอะลูมินัมที่ใช้เป็นตัวกำจัดสิ่งปนเปื้อนมาจากสารที่ใช้กันโดยทั่วไปในกระบวนการผลิตพอลิโอเลฟินโดยจะศึกษาถึงผลกระทบต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนบนตัวรองรับและสมบัติของผลิตภัณฑ์ หมู่อะคิลอะลูมินัมถูกแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ไตรเอทิลอะลูมินัม และ ไตรอัลโซบิวทิลอะลูมินัมที่ใช้ในการศึกษา การเติมหมู่อะคิลอะลูมินัมเพื่อกำจัดสิ่งปนเปื้อนมีความสำคัญและจำเป็นในกระบวนการพอลิเมอไรเซชันนี้เพราะเมื่อไม่มีหมู่อะคิลอะลูมินัมกำจัดสิ่งปนเปื้อน ส่งผลให้เกิดการเสื่อมของตัวเร่งปฏิกิริยาอย่างรวดเร็ว ที่ความเข้มข้นที่ให้ความว่องไวมากที่สุดคือ 0.7 และ 1.2 mmol/L in hexane และให้ค่าความว่องไว 6.027 และ 8.603 kg.PE/g Cat.*h ของ ไตรเอทิลอะลูมินัม และ ไตรอัลโซบิวทิลอะลูมินัม ตามลำดับ ในปฏิกิริยาเอทิลีนพอลิเมอไรเซชัน แต่อย่างไรก็ตามที่ความเข้มข้นของตัวกำจัดสิ่งปนเปื้อนมากเกินพอ ส่งผลให้ค่าความว่องไวลดลง เนื่องจากเกิดสารประกอบเชิงซ้อนเฮททัลโลไดนิวเคลียร์ ซึ่งอาจยับยั้งหรือลดประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา สันนิษฐานว่าไตรเอทิลอะลูมินัมสะดวกต่อการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนเฮททัลโลไดนิวเคลียร์มากกว่าไตรอัลโซบิวทิลอะลูมินัมเนื่องจากเหตุผลของความเกะกะทางโครงสร้าง นอกจากนี้ไตรเอทิลอะลูมินัมเป็นตัวรีดิวซ์ที่แรงกว่าไตรอัลโซบิวทิลอะลูมินัมในการลดสถานะของเซอร์โคเนียมจากเซอร์โคเนียมสถานะสี่เป็นเซอร์โคเนียมสถานะสามซึ่งเป็นสถานะที่มีความว่องไวต่ำในปฏิกิริยาเอทิลีนพอลิเมอไรเซชัน ความเข้มข้นของตัวกำจัดสิ่งปนเปื้อนไม่ส่งผลต่ออุณหภูมิหลอมเหลวและความเป็นผลึกของพอลิเมอร์ สำหรับเอทิลีนและวันเฮกซีนโคพอลิเมอไรเซชัน พบว่าการแทรกตัวของวันเฮกซีนไม่ขึ้นกันความเข้มข้นของหมู่อะคิลอะลูมินัม ผลกระทบของไฮโดรเจนแสดงการลดลงของค่าความว่องไวเนื่องจากสารประกอบเชิงซ้อนเมทัลไฮไดรด์ไปลดอัตราของปฏิกิริยาขั้นแผ่ขยายen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.508-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPolyolefins
dc.subjectMetallocene catalysts
dc.subjectPolymerization
dc.subjectโพลิโอเลฟินส์
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีน
dc.subjectโพลิเมอไรเซชัน
dc.titleTHE CHEMISTRY OF SCAVENGER ON THE PERFORMANCE OF THE SUPPORTED METALLOCENE CATALYSTen_US
dc.title.alternativeเคมีของตัวกำจัดสิ่งปนเปื้อนต่อสมรรถนะของตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนบนตัวรองรับen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Engineeringen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineChemical Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorbunjerd.j@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.508-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570435721.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.