Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีรัตน์ สุพุทธิธาดาen_US
dc.contributor.advisorสมพล สงวนรังศิริกุลen_US
dc.contributor.authorกิตติกร สีหาบุตรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:36:41Z
dc.date.available2015-06-24T06:36:41Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43267
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของการฝึกโยคะสัปดาห์ละ 2 ครั้งเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ทำการศึกษาในอาสาสมัครเพศหญิงอายุระหว่าง 30-45 ปี จำนวน 39 ราย โดยแบ่งกลุ่มเป็น กลุ่มควบคุม และกลุ่มฝึกโยคะ ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสองกลุ่มจะได้รับการทดสอบความสามารถในการคงความสมดุลของร่างกายโดยประเมินจากระยะทางการเคลื่อนที่ของจุดศูนย์กลางแรงกดบนแผ่นวัดแรงกดในระหว่างการยืนบนขาสองข้าง และข้างเดียว ขณะลืมตา และหลับตา การทดสอบความมั่นคงของกระดูกสันหลัง และเชิงกรานโดยประเมินจากการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวจากการกระโดดลงสู่พื้นในท่ายืนบนขาข้างเดียว ประเมินคลื่นสัญญาณไฟฟ้าของกล้ามเนื้อจาก surface EMG และการทดสอบกำลังของกลุ่มกล้ามเนื้อหลังโดยใช้เครื่องวัดกำลังกล้ามเนื้อแบบ isokinetic ทำการประเมินก่อนและหลังเสร็จสิ้นการวิจัยใน 6 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มฝึกโยคะมีค่าความสามารถในการคงความสมดุล ที่ดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อประเมินความเร็วเชิงมุม พบว่ากลุ่มฝึกโยคะมีความเร็วเชิงมุมในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเชิงมุมของการเอียงตัวไปด้านข้างที่เพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) และการประเมินกำลังของกลุ่มกล้ามเนื้อหลัง พบว่ากลุ่มฝึกโยคะมีกำลังกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมแต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ดังนั้นการฝึกโยคะสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 6 สัปดาห์สามารถเพิ่มการคงความสมดุลของร่างกาย ความแข็งแรงของกลุ่มกล้ามเนื้อหลัง และสามารถเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลัง และเชิงกราน ในทิศทางการเอียงตัวไปด้านข้าง ซึ่งอาจช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดอาการปวดหลังส่วนล่างในผู้หญิงได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was comparing the effect of 6-week yoga training program in healthy women between 30-45 years old. Each 39 females were categorized into training and control group. Before and after 6 week, participants were measured postural sway during double and single leg stance while eyes opened and closed by using force plate, lumbopelvic stability during single-leg landing, measured muscles activities by surface EMG and measured back muscle power by using isokinetic dynamometer. The result found that balance in single-leg stand in yoga group were significant greater than control group (p<0.05). Lumbopelvic stability analyzed by angular displacement and angular velocity. There were no significant difference between groups for angular displacement and angular excursion. The angular velocity showed significant differences between groups for mean velocity lateral bend (p<0.05). EMG activity of gluteus medius muscles in yoga group was decrease than control, but there was no statistically significant differences. The group of back muscles power in yoga group was increase than control group, but there was no statistically significant differences. Therefore 6-week yoga training program can improve balance, back muscles power and lumbopelvic stability might to decrease risk for low back pain in women.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.675-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโยคะ (กายบริหาร)
dc.subjectสุขภาพ
dc.subjectกล้ามเนื้อ
dc.subjectHatha yoga
dc.subjectHealth
dc.subjectMuscles
dc.titleผลของการฝึกโยคะ ต่อการคงความสมดุล ความมั่นคงของกระดูกสันหลังและเชิงกราน และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังen_US
dc.title.alternativeEFFECT OF YOGA ON BALANCE, LUMBOPELVIC STABILITY AND BACK MUSCLES STRENGTHen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorprof.areerat@gmail.comen_US
dc.email.advisorfmedssk@yahoo.com
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.675-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5374610730.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.