Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43631
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่งen_US
dc.contributor.advisorฐิติพงศ์ นันทาภิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorนัชชา เทียมพิทักษ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:43:27Z
dc.date.available2015-06-24T06:43:27Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43631
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการพัฒนานวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอัจฉริยะด้านการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับครูอาชีวศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาการพัฒนาตนเองของครูอาชีวศึกษา 2) พัฒนารูปแบบใหม่ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอัจฉริยะด้านการออกแบบการเรียนการสอน และ 3) ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยใช้หลักการออกแบบการเรียนการสอน 5 ขั้นตอน ที่เรียกว่า ADDIE ได้แก่ การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช้ และการประเมินผล เป็นแนวคิดหลักในการพัฒนานวัตกรรม รวมทั้งใช้ หลักการปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และภาษาคอมพิวเตอร์ มายเอสคิวเอล (MySQL) สร้างความอัจฉริยะให้กับนวัตกรรมบทเรียน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ครูอาชีวศึกษาภาครัฐและเอกชน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เพื่อสำรวจความต้องการใช้เทคโนโลยี และ คัดเลือกกลุ่มทดลอง จำนวน 15 คน เพื่อทำการทดลองใช้งานนวัตกรรมบทเรียนด้วยตนเองเป็นเวลา 5 วัน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า นวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอัจฉริยะด้านการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับครูอาชีวศึกษา ที่พัฒนาขึ้นใหม่ มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ โมดูลติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ โมดูลยุทธศาสตร์การสอน โมดูลวินิจฉัย โมดูลฐานข้อมูลและความรู้ และ โมดูลผู้เชี่ยวชาญ สำหรับผลการศึกษาการยอมรับนวัตกรรม สรุปได้ว่ากลุ่มเป้าหมายยอมรับนวัตกรรมด้าน การรับรู้ประโยชน์ เท่ากับร้อยละ 100 การรับรู้ถึงความง่าย เท่ากับร้อยละ 97.8 การยอมรับในความอัจฉริยะ เท่ากับ 84.0 และ กลุ่มเป้าหมายมีความตั้งใจใช้ เท่ากับ ร้อยละ 93.3 ซึ่งอยู่ในระดับมากทุกปัจจัย สำหรับโอกาสในการนำนวัตกรรมไปใช้เผยแพร่เชิงพาณิชย์ มีความเป็นไปได้ 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) ธุรกิจให้บริการฝึกอบรมโดยตรง 2) ขายสิทธิ์ให้หน่วยงานกำกับดูแล และ 3) ธุรกิจรับจ้างผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์อัจฉริยะตามความต้องการของลูกค้า โดยกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์นวัตกรรมในรูปของโปรแกรมฝึกอบรมออนไลน์ ตลาดเป้าหมายที่มีศักยภาพในการนำนวัตกรรมไปใช้งาน คือ ส่วนตลาดการศึกษาในระดับสายวิชาชีพen_US
dc.description.abstractalternativeThis research is the development of innovative product technology. The purposes of this research are to 1) study the problems of the vocational education teachers 2) to develop a new model of computer assisted instructional design genius and 3) to study the acceptance of technology and innovation. Its population is the vocational teachers in public and private sectors. Samples group of 400 people were selected for exploring the technology and the experimental group of 15 people of trail innovation learning for five days. This research applies the principles of instructional design in 5 steps called ADDIE including analysis, design, development, implementation and evaluation are used for development new type of lesson. The principle of artificial intelligence and computer language, MySQL were used to create a genius for lesson. It was found that there are 5 modules namely; module communicates with the user, teaching strategy module, diagnosis module, database and knowledge module and an expert module. The adoption of technology and innovation is in 4 factors including to perceive usefulness is at 100 percent, perceiving of easiness is at 97.8 percent, adoption in genius is at 84.0 and intention to use is at 93.3 which is in high level of every factors. A business model is expected to be three forms 1) Business training service 2) Licensing regulatory agencies and 3) Production of ICAI for customer requirements.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1097-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูป
dc.subjectอาชีวศึกษา -- แบบเรียนสำเร็จรูป
dc.subjectProgrammed instruction
dc.subjectVocational education -- Programmed instruction
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต
dc.titleนวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอัจฉริยะด้านการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับครูอาชีวศึกษาen_US
dc.title.alternativeINNOVATION OF INTELLIGENT COMPUTER-ASSISTED INSTRUCTION ON INSTRUCTIONAL DESIGN FOR VOCATIONAL EDUCATION TEACHERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoronjaree.n@chula.ac.then_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1097-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5187785920.pdf8.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.