Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44228
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา แก้วเทพ | - |
dc.contributor.author | ณฐา สุวันทารัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2015-08-03T09:14:03Z | - |
dc.date.available | 2015-08-03T09:14:03Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44228 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่อง “การเลือกใช้สื่อและการออกแบบสารเพื่อการเคลื่อนไหวทางสังคมของโครงการบิ๊กทรี” เป็นการศึกษาวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการเลือกใช้สื่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อใหม่ และ (2) วิเคราะห์การออกแบบสารของโครงการบิ๊กทรี รวมทั้ง (3) การปรากฏของประเด็นต้นไม้ใหญ่ในเมืองในสื่อมวลชน ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้ทั้งระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ และระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลหน้าแฟนเพจเฟซบุ๊กของโครงการบิ๊กทรีเป็นเวลา 17 เดือน ตั้งแต่การเริ่มเปิดแฟนเพจเฟซบุ๊กของโครงการบิ๊กทรีในเดือนพฤศจิกายน 2553 จนถึง เดือนมีนาคม 2555 การสัมภาษณ์เชิงลึก และการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง 114 คน ผลการศึกษาพบว่า โครงการบิ๊กทรีมีการเลือกใช้สื่อใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแฟนเพจเฟซบุ๊กเป็นหลักในการนำเสนอสารในประเด็นต้นไม้ใหญ่ในเมืองกับผู้รับสาร โดยเหตุผลที่เลือกใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นหลักในการสื่อสาร เนื่องด้วยเหตุผล 9 ประการ ดังต่อไปนี้ (1) ไม่เสียค่าใช้จ่าย (2) ผู้ใช้งานเป็นเจ้าของสื่อและกำหนดเนื้อหาที่ลงได้ด้วยตัวเอง (3) แพร่กระจายข่าวสารได้รวดเร็ว (4) สามารถเข้าถึงคนจำนวนมากได้ง่าย (5) สะดวกต่อการแบ่งปันต่อ (6) มีผู้ใช้เป็นจำนวนมาก (7) เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล (8) มีลักษณะการสื่อสารเป็นการสื่อสารแบบสองทาง (9) ไม่ต้องพึ่งพาสื่อกระแสหลัก และการออกแบบสารของโครงการนั้นเน้นให้มีความข้อความที่สั้นกระชับ เน้นการแฝงคำถามเพื่อให้ผู้รับสารเก็บไปคิดต่อ เน้นการเล่าเรื่องด้วยภาพ และเน้นการแชร์ข้อมูลจากแฟนเพจสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางการนำเสนอคือ ไม่นำเสนอเนื้อหาที่มีการแฝงความรุนแรง ไม่โพสต์ข้อความโจมตีฝ่ายใด และเน้นเนื้อหาที่เป็นกลาง นอกจากนี้จากการศึกษาพบว่าปริมาณข่าวสารข้อมูลในประเด็นต้นไม้ใหญ่ในเมืองในสื่อมวลชนนั้น จาก 17 เดือนพบทั้งหมด 99 ข้อมูล และพบข้อมูลปริมาณมากในช่วงเดือนธันวาคม2553 และพบข่าวในสื่อประเภทหนังสือพิมพ์มากที่สุดส่วนผู้รับสารมีการเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อใหม่มากที่สุด และให้ความสำคัญกับประเด็นต้นไม้ใหญ่ในเมืองที่ระดับปานกลางทั้งผู้ที่รู้จักและไม่รู้จักโครงการบิ๊กทรี | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are (1) to examine the process of media selection especially new media and (2) to analyze the process of message design of Big Trees Project and also (3) the quantity of Big Trees in Bangkok issue that appear in mass media. The qualitative and quantitative methodologies were used by applying content analysis from Facebook fanpage of Big Trees Project for 17 months since November 2010 – March 2012 and in-depth interview together with survey by questionnaire with 114 people. The results of study show that Big Trees Project uses new media especially Facebook fan page as a major media to communicate in aspect of Big Trees in Bangkok with audiences. And 9 reasons why Big Trees Project uses New media are (1) no expenses (2) Users can generate content (3) Spreading information easily (4) Accessible to many people (5) Easy to share (6) Many users (7) collected many information (8) 2 ways communication (9) no need to rely on mass media. And the message design of Big Trees Project is using the compact sentence and using the picture and sharing the information about environmental case from other fan pages with policy that no posting of the content that include the violence and no posting against others who disagree with the projects. Furthermore, the results of study show that quantity of Big Trees issue is founded 99 data in 17 months and mostly in December 2010 in Newspaper and audiences mostly perceive this issue by new media the most and emphasize the issue in the average both audiences who know and did not know Big Trees Project. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ขบวนการสังคม | en_US |
dc.subject | เครือข่ายสังคมออนไลน์ -- แง่สังคม | en_US |
dc.subject | การสื่อสารในการกระทำทางสังคม | en_US |
dc.subject | สื่อมวลชนกับสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | Social movements | en_US |
dc.subject | Online social networks -- Social aspects | en_US |
dc.subject | Communication in social action | en_US |
dc.subject | Mass media and the environment | en_US |
dc.title | การเลือกใช้สื่อและการออกแบบสารเพื่อการเคลื่อนไหวทางสังคมของโครงการบิ๊กทรี | en_US |
dc.title.alternative | Media selection and message design for social movement of Big Trees Project | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Kanjana.Ka@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Natha_su.pdf | 6.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.