Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมา วิสุทธิพิทักษ์กุล-
dc.contributor.advisorยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์-
dc.contributor.authorอมฤดา อิสริยภัทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-14T06:36:23Z-
dc.date.available2015-08-14T06:36:23Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44270-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ได้นำโฟมอะลูมิเนียมบริสุทธิ์ (>99.8%) โพรงอากาศแบบเปิด ขนาด 8 ppi ความหนาแน่นสัมพัทธ์ 3.10% มาเคลือบผิวด้วยนิกเกิลโดยกรรมวิธีทางไฟฟ้า เป็นเวลา 15, 30 และ 60 นาที (ชั้นเคลือบนิกเกิลหนา 25, 52 และ 87 ไมครอน ตามลำดับ) หลังจากนั้นผ่านกระบวนการทางความร้อนในช่วงอุณหภูมิ 620 และ 650 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 60 นาที ภายใต้บรรยากาศอาร์กอน เพื่อศึกษาชั้นสารประกอบที่เกิดขึ้นและศึกษาผลของสารประกอบนิกเกิลอะลูมิไนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างเนื้อพื้นอะลูมิเนียมและชั้นเคลือบนิกเกิลต่อสมบัติทางกลของโฟมอะลูมิเนียม วิเคราะห์สมบัติทางกลของชั้นสารประกอบนิกเกิลอะลูมิไนด์ด้วย Nano-indentation และทดสอบสมบัติการรับแรงอัดของโฟมอะลูมิเนียมด้วยเครื่อง Universal testing machine หลังจากชิ้นงานผ่านกระบวนการทางความร้อน จากการวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคด้วย XRD และ EDS พบชั้นสารประกอบนิกเกิลอะลูมิไนด์ ได้แก่ Al3Ni และ Al3Ni2 เกิดขึ้นระหว่างเนื้อพื้นอะลูมิเนียมและชั้นเคลือบนิกเกิล เมื่อวิเคราะห์สมบัติการรับแรงอัดพบว่าชิ้นงานโฟมอะลูมิเนียมที่เคลือบผิวด้วยนิกเกิลมีสมบัติการรับแรงอัดที่ดีขึ้นประมาณ 2-4 เท่า แต่สำหรับชิ้นงานที่ผ่านกระบวนการทางความร้อน ณ อุณหภูมิต่างๆ หลังจากเคลือบผิวนั้น พบสารประกอบนิกเกิลอะลูมิไนด์เกิดขึ้น แม้ว่าสารประกอบนิกเกิลอะลูมิไนด์ที่เกิดขึ้นนั้นมีสมบัติทางกลที่ดี แต่มีความเปราะสูง และเนื่องจากการเกิดสารประกอบนิกเกิลอะลูมิไนด์นี้ทำให้เกิดรูพรุนภายในเนื้อวัสดุ จึงเป็นสาเหตุให้ชิ้นงานมีสมบัติการรับแรงอัดที่ลดต่ำลงen_US
dc.description.abstractalternativeIn this research, commercial pure aluminium foam (>99.8% purity) with open-cell structure was coated by nickel followed by heat treatment. The relative density of aluminium foam before coating is 3.10%. The as-receive foams were nickel coated by electrodeposited process for 15, 30 and 60 min. (coating thickness 25, 52 and 87 μm respectively) After that, coated foams were heat-treated at temperature of 620°C to 650°C for 60 min under Ar atmosphere to study effect of heat treatment on microstructure and mechanical properties of open-cell aluminium foam. The specimens, 20x20x20 mm, were compression tested by universal testing machine at the ambient temperature with a constant strain rate of 2.5x10-4 s-1. After heat treatment, Intermetallic compound of Al-Ni formed at the interface between Al and Ni. From XRD and EDS analysis, those compound are Al3Ni and Al3Ni2. Another one is to study effect of Al-Ni intermetallic compound layers on compressive properties of open-cell aluminium foam. The as-coated foam compressive properties directly raise about factor 2-4 for compressive strength, yield stress and energy absorption by increasing the coating thickness. The heat-treated under various temperature affected to form Intermetallic compound layers. However, the heat-treated Al-Ni intermetallics formed at the interface shows lower compressive strength comparing to coated specimens, owing to the brittleness of Al-Ni intermetallics and micro voids’ formation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.487-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโฟมen_US
dc.subjectอะลูมินัมen_US
dc.subjectโครงสร้างจุลภาคen_US
dc.subjectการชุบเคลือบผิวด้วยไฟฟ้าen_US
dc.subjectFoamen_US
dc.subjectAluminumen_US
dc.subjectMicrostructureen_US
dc.subjectElectroplatingen_US
dc.titleผลของอุณหภูมิในการอบชุบทางความร้อนต่อโครงสร้างจุลภาคและสมบัติทางกลของโฟมอะลูมิเนียมโพรงอากาศแบบเปิดที่เคลือบด้วยนิกเกิลen_US
dc.title.alternativeEffects of heat treatment temperature on microstructure and mechanical properties of nickel plated open-cell aluminium foamen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPatama.V@Chula.ac.th-
dc.email.advisorYuttanant.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.487-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ammarueda_is.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.