Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44722
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTaweechai Tejapongvorachai-
dc.contributor.authorPhutsapong Srisawat-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicine-
dc.date.accessioned2015-08-24T03:49:50Z-
dc.date.available2015-08-24T03:49:50Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44722-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012en_US
dc.description.abstractObjective: In this study, we purpose to study the diagnostic accuracy and other diagnostic values (diagnostic yield, error, complication) of CNB without real-time image-guidance in out-patient clinic by comparing with open incisional biopsy in musculoskeletal sarcoma patients. Methods: We retrospectively reviewed the biopsy cases of sarcoma patients since 2002-2011 from medical records and histopathology database. The diagnostic accuracy in 4 aspects of histopathology: nature (benign or malignant), specific diagnosis, histological type, and histological grade between 2 methods were compared statistically, the gold standard were the histopathology from resected specimens while definite surgery and information of clinicoradiographic/laboratory by clinical course. The other diagnostic values (diagnostic yield, error, complication) were also compared between both methods. Results: There were 200 cases (open incisional biopsy 105 cases and CNB 95 cases). The diagnostic accuracies of open incisional biopsy were 97.14% for nature, 89.52% for specific diagnosis, 89.52% for histological type, 88.57% for histological grade and the diagnostic accuracies of CNB were 96.84%, 89.47%, 88.42%, 86.32% respectively. There were no statistically significant different between 2 methods in all histological aspects (nature; P-value = 0.901 95%CI = -0.432 to 0.380, specific diagnosis; P-value = 0.991 95%CI = -0.227 to 0.224, histological type P- value = 0.803 95%CI = -0.250 to 0.193, and histological grade; P-value = 0.63 95%CI = -0.261 to 0.158). The diagnostic yields of both methods were 98.13% for open incisional biopsy, 97.94% for CNB. It was no statistically significant different also as shown in table 6 (P-value = 0.919 95%CI = -0.469 to 0.520). There were 6 cases (3%) for overall major errors, 3 cases (2.86%) for open incisional biopsy and 3 cases (3.16%) for CNB. There were 18 cases (9%) for minor errors, 9 cases (8.57%) for open incisional biopsy and 9 cases (9.47%) for CNB. There was no related biopsy complication in both methods. Conclusion: The office-based CNB for diagnosis musculoskeletal sarcoma can achieve the acceptable high diagnostic accuracy rates comparing with the open incisional biopsy.en_US
dc.description.abstractalternativeสถานที่ทำการวิจัย: กองออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และ สถาบันพยาธิวิทยา กรมแพทย์ทหารบก ระเบียบวิธีวิจัย: เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทบทวนย้อนหลังจากฐานข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยและฐานข้อมูลทางพยาธิวิทยาเลือกประชากรตัวอย่างผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิกระดูกและระบบเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มารับการรักษาระยะเวลา10ปีย้อนหลัง( พศ.2545-2554) โดยแบ่งประชากรตัวอย่างเป็น2กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มมะเร็งปฐมภูมิที่วินิจฉัยโดยใช้วิธีการเจาะตรวจแบบปิดโดยที่ไม่มีเครื่องมือทางรังสีวินิจฉัยช่วยขณะทำหัตถการ ณ ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอก และ กลุ่มมะเร็งปฐมภูมิที่วินิจฉัยโดยใช้วิธีการผ่าตัดแบบเปิดที่ห้องผ่าตัด นำมาเปรียบเทียบความแม่นยำในการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาโดยละเอียด4ด้าน ได้แก่ ธรรมชาติของก้อนเนื้องอก ชื่อโรคมะเร็ง ชนิดของโรคมะเร็ง ความรุนแรงของโรคมะเร็ง โดยใช้ผลพยาธิของก้อนโรคมะเร็งขณะทำการผ่าตัดรักษาตอนสุดท้ายเป็นมาตรฐานหลัก และยังทำการเก็บข้อมูลอื่นเปรียบเทียบด้วย ได้แก่ ความสามารถในการวินิจฉัยของแต่ละวิธี ความผิดพลาดที่เกิดจากการวินิจฉัย (ผิดพลาดรุนแรง;วินิจฉัยผิดจากมะเร็งเป็นเนื้องอกธรรมดา, ผิดพลาดเล็กน้อย;วินิจฉัยผิดในส่วนอื่น) ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการทำหัตถการ ผลการศึกษา: จากผู้ป่วยมะเร็งปฐมภูมิของกระดูกและระบบเนื้อเยื่อเกี่ยวพันจำนวนทั้งสิ้น200ราย แบ่งเป็นจากกลุ่มมะเร็งปฐมภูมิที่วินิจฉัยโดยใช้วิธีการผ่าตัดแบบเปิด 105ราย กลุ่มมะเร็งปฐมภูมิที่วินิจฉัยโดยใช้วิธีการเจาะตรวจแบบปิด 95ราย ความแม่นยำในการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาโดยวิธีการผ่าตัดแบบเปิด ได้แก่ 97.14% สำหรับธรรมชาติของก้อนเนื้องอก, 89.52% สำหรับชื่อโรคมะเร็ง, 89.52%สำหรับชนิดของโรคมะเร็ง, 88.57%สำหรับความรุนแรงของโรคมะเร็ง ความแม่นยำในการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาโดยวิธีการผ่าตัดแบบปิดได้แก่ 96.84%, 89.47%, 88.42%, 86.32% เรียงตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบโดยใช้วิธีทางสถิติพบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (ธรรมชาติของก้อนเนื้องอก; P-value = 0.901 95%CI = -0.432 ถึง 0.380, ชื่อโรคมะเร็ง; P-value = 0.991 95%CI = -0.227 ถึง 0.224, ชนิดของโรคมะเร็งP- value = 0.803 95%CI = -0.250 ถึง 0.193,ความรุนแรงของโรคมะเร็ง; P-value = 0.63 95%CI = -0.261 ถึง 0.15) อีกทั้งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับความสามารถในการวินิจฉัยของแต่ละวิธี 98.13%โดยวิธีการผ่าตัดแบบเปิด, 97.94%โดยวิธีการเจาะตรวจแบบปิด. (P-value = 0.919 95%CI = -0.469 ถึง 0.520) พบว่ามีความผิดพลาดรุนแรงทั้งหมดที่เกิดจากการวินิจฉัยจำนวน 6 ราย (3%), 3 ราย (2.86%) โดยวิธีการผ่าตัดแบบเปิด และ 3 ราย (3.16%) โดยวิธีการผ่าตัดแบบปิด พบว่ามีความผิดพลาดเล็กน้อยทั้งหมด 18 ราย (9%), 9 ราย (8.57%) โดยวิธีการผ่าตัดแบบเปิด 9 ราย (9.47%) โดยวิธีการเจาะตรวจแบบปิด ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากตรวจวินิจฉัยทั้งสองวิธี สรุป: ความถูกต้องแม่นยำและความสามารถในการให้ผลวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาโดยวิธีการเจาะตรวจแบบปิดโดยที่ไม่มีเครื่องมือทางรังสีวินิจฉัยช่วยขณะทำหัตถการ ณ ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอก ให้ผลที่ไม่แตกต่างกับวิธีการผ่าตัดแบบเปิดที่ห้องผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งปฐมภูมิของกระดูกและระบบเนื้อเยื่อเกี่ยวพันen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.656-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectMusculoskeletal system -- Cancer -- Diagnosisen_US
dc.subjectNeedle biopsyen_US
dc.subjectระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก -- มะเร็ง -- การวินิจฉัยโรคen_US
dc.subjectการตัดชิ้นเนื้อด้วยการเจาะen_US
dc.titleComparative study of diagnostic accuracy between close needle biopsy and open incisional biopsy in musculoskeletal sarcomaen_US
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบความถูกต้องแม่นยำในการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาของมะเร็งชนิดปฐมภูมิกระดูกและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ระหว่างวิธีการเจาะตรวจแบบปิดและวิธีผ่าตัดแบบเปิดen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineHealth Developmenten_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.656-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phutsapong_sr.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.