Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย ชรินพาณิชกุลen_US
dc.contributor.advisorอภินันท์ สุทธิธารธวัชen_US
dc.contributor.authorพงศกร พงษ์เภตรารัตน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:02:53Z
dc.date.available2015-09-17T04:02:53Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45527
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการแปรสภาพกลีเซอรอลซึ่งเป็นเคมีภัณฑ์ที่มีมูลค่าต่ำ ผ่านปฏิกิริยาไฮโดรจีโนไชซิส และคาดหวังผลิตภัณฑ์ โพรเพนไดออล และ โพรพานอล ที่มีมูลค่าสูง โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดีนัมที่ถูกซัลไฟด์ แล้วทำการศึกษาปัจจัยต่างๆ ได้แก่ อุณหภูมิ และ ความดันในการทำปฏิกิริยา รวมทั้งศึกษาเส้นทางการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจีโนไลซิสของกลีเซอรอลบนตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าว และ ความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดีนัมฟอสฟอรัส จากการศึกษาเส้นทางการเกิดปฏิกิริยาพบว่า เส้นทางเกิดปฏิกิริยาของกลีเซอรอลนั้นผ่านเส้นทางปฏิกิริยา ดีไฮเดรชัน-ไฮโดรจีเนชัน (Dehydration-hydrogenation) และพบว่าผลิตภัณฑ์หลักที่ได้จากปฏิกิริยาไฮโดรจีโนไลซิสของกลีเซอรอล ได้แก่ 1,2-โพรเพนไดออล, 1-โพรพานอล จากการทดลองผลกระทบของอุณหภูมิและความดันที่มีต่อปฏิกิริยา พบว่าอุณหภูมิมีผลกระทบอย่างมาก เป็นผลมาจากขั้นปฏิกิริยาดีไฮเดรชันเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน และในขณะที่ปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันกลับเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน และที่อุณหภูมิสูงเกินไปก็พบว่าจะทำให้ปฏิกิริยาข้างเคียง ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบอินทรีย์จำพวกออกซิจีเนตสายโซ่ยาว ดังนั้นการควบคุมอุณหภูมิทำปฏิกิริยาจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ในขณะที่ความดันมีผลต่อปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันในขั้นตอนการถ่ายเทมวลของไฮโดรนเจนข้ามวัฎภาค สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดีนัมฟอสฟอรัส ให้ค่าเลือกผลิตภัณฑ์หลักคือ 1,2-โพรเพนไดออล ที่สูงมาก เมื่อเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดีนัม ซึ่งความแตกต่างของการเลือกเกิดผลิตภัณฑ์ดังกล่าว เกิดขึ้นในขั้นปฏิกิริยาดีไฮเดรชันที่ถูกเร่งปฏิกิริยาจากตัวเร่งปฏิกิริยาทั้ง 2 ชนิดที่มีคุณสมบัติความเป็นกรดที่แตกต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeThis report aims to convert glycerol, a low-value chemical product, to other more valuable chemical products via hydrogenolysis reaction using sulfided nickel molybdenum as catalyst. Products from the reaction are expected to be propanediols and proponols. Influences of operating parameters were examined such as temperature and pressure. Reaction pathway over nickel molybdenum and performance of nickel molybdenum phosphorus were also examined. The study of reaction pathway found that glycerol proceed hydrogenolysis through dehydration-hydrogenation pathway forming major products which are 1,2-propanediol and 1-propanol The study of influence of operating temperature and pressure found that temperature has a very strong influence over the reaction because dehydration step is endothermic reaction, while the following hydrogenation step is exothermic. Moreover, if operating temperature is too high it will favor side reactions resulting in formation of longer chain oxygenated organic products. So, precise controlling operating temperature is very essential factor. Significant influence of pressure can be observed in hydrogenation step. Performance of NiMoP catalyst is different from NiMo catalyst. NiMoP highly favors formation of 1,2-propanediol compared to NiMo. The difference in product selectivity occurs in dehydration step resulting from difference in acidity properties which are alternated from presence of phosphorus.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.966-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกลีเซอรีน
dc.subjectปฏิกิริยาเคมี
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยา
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล
dc.subjectGlycerin
dc.subjectChemical reactions
dc.subjectCatalysts
dc.subjectNickel catalysts
dc.subjectHydrogenolysis
dc.titleปฏิกิริยาไฮโดรจีโนไลซิสของกลีเซอรอลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมฟอสฟอรัสen_US
dc.title.alternativeHYDROGENOLYSIS OF GLYCEROL USINGPHOSPHORUS PROMOTED NICKEL MOLYBDENUM CATALYSTen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTawatchai.C@Chula.ac.then_US
dc.email.advisorApinan.S@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.966-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570296821.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.