Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัศมน กัลยาศิริen_US
dc.contributor.authorเชิงชาย ถาวรยุธรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:05:00Z-
dc.date.available2015-09-17T04:05:00Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45760-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความเครียด ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียด และพฤติกรรมลดความเครียดของนักศึกษาซึ่งศึกษา ณ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ในปี 2557 วิธีการศึกษา : เก็บรวบรวมข้อมูลจาก นักศึกษาซึ่งศึกษา ณ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา จำนวน 435 คน โดยใช้แบบสอบถามแบบตอบด้วยตนเอง ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐาน 2) แบบทดสอบความเครียดสวนปรุงชุด 20 ข้อ 3) แบบสอบถามวิธีจัดการความเครียดของนักศึกษาซึ่งศึกษา ณ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ผลการศึกษา : พบว่ากลุ่มตัวอย่างจำนวนร้อยละ 41.6 มีความเครียดในระดับสูงและร้อยละ 14.3 มีความเครียดในระดับรุนแรง โดยมีปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดได้แก่ โรคทางกาย ที่มาของรายได้หลัก ความเพียงพอของรายได้ การมีรายได้เหลือเก็บ การมีหนี้สิน สถานภาพสมรส และการใช้พฤติกรรมเชิงลบเพื่อจัดการความเครียด โดยพบว่าปัจจัยที่ทำนายความเครียดของนักศึกษา ได้แก่ ความเพียงพอของรายได้ ปัญหาสุขภาพ และสถานภาพสมรส สรุปผลการศึกษา : นักศึกษาซึ่งศึกษา ณ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาจำนวนมาก มีความเครียดในระดับสูงหรือรุนแรง โดยสัดส่วนผู้ที่มีความเครียดสูงและรุนแรงลดลงเล็กน้อยกว่าปี 2551 ปัจจัยที่ทำนายความเครียดได้แก่ ความไม่เพียงพอของรายได้ ปัญหาสุขภาพ และสถานภาพสมรสโสดen_US
dc.description.abstractalternativeObjective : To study stress of the students at the Institute of Legal Education Thai Bar Association. Methods : Four hundred and thirty-five students at the Institute of Legal Education Thai Bar Association were recruited to respond to the following: 1) questionnaire on personal information; 2) Suanprung Stress Test–20 (SPST–20); and, 3) stress reducing behavior questionnaire. Results : In all, 41.6 % of participants had high stress level and 14.3 % severe stress level. Univariate analysis revealed 7 factors significantly associated with stress : health problems, revenue, adequacy of income, money savings, debts, current marital status and negative stress reducing behaviors. The level of stress was predicted by the adequacy of income, health problems and current marital status. Conclusion : We found 41.60 % and 14.3 % of the students had high and severe stress. The stress level is slightly decreased from the survey in 2008. The predictors of high level of stress were inadequacy of income, health problems and current marital status (single)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.584-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา) -- ไทย
dc.subjectนักศึกษา -- ไทย
dc.subjectนักศึกษากฎหมาย -- ไทย
dc.subjectStress (Psychology) -- Thailand
dc.subjectStress (Psychology) -- Thailand
dc.subjectStudents -- Thailand
dc.subjectLaw students -- Thailand
dc.titleความเครียดของนักศึกษาซึ่งศึกษา ณ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาen_US
dc.title.alternativeStress of students in the Institute of Legal Education Thai Bar Associationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRasmon.K@Chula.ac.th,rasmon.k@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.584-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5674252030.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.