Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง-
dc.contributor.authorพรรณพิมล เพียรรุ่งโรจน์, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-22T12:05:19Z-
dc.date.available2006-06-22T12:05:19Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745319856-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/457-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการเกี่ยวกับการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สำหรับครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) นำเสนอรูปแบบการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ครูประถมศึกษาจำนวน 270 คน และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 20 คน ผู้วิจัยเก็บรวบวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และใช้เทคนิคเดลฟาย 3 รอบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละ ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูในโรงเรียนประถมศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่า ควรมีการจัดการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยรายละเอียดของเนื้อหาที่ครูต้องการในการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กิจกรรมเป็นการศึกษาด้วยตนเองและกลุ่มย่อย ปัจจัยที่สนับสนุนในการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย คือ มีแหล่งความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายทั้งในและนอกเครือข่ายอบรม มีบริการสนับสนุนบนอินเทอร์เน็ต เช่น e-mail, web board, web page, chat, search และการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้วยกัน 2. ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกับข้อความเกี่ยวกับรูปแบบการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จำนวน 166 ข้อ จากจำนวน 184 ข้อ 3. รูปแบบการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 3.1 ขั้นเตรียมการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย ประกอบด้วยองค์ประกอบการฝึกอบรม 10 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม 2) หลักสูตรการฝึกอบรม 3) ลักษณะการทำงาน/การทำกิจกรรม 4) คุณสมบัติของผู้ดำเนินการฝึกอบรม 5) หน้าที่ของผู้ดำเนินการฝึกอบรม 6) คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม 7) สื่อประกอบการฝึกอบรม 8) วิธีการปฏิสัมพันธ์ผ่านเครือข่าย 9) การประเมินผลการฝึกอบรม 10) การติดตามผลการฝึกอบรม 3.2 ขั้นฝึกอบรม ประกอบด้วย 1) ขั้นก่อนการฝึกอบรม เป็นการแนะนำรูปแบบการฝึกอบรม กลุ่มสัมพันธ์ การฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 2) ขั้นระหว่างการฝึกอบรม เป็นการนำเสนอเนื้อหาการฝึกอบรม การทำกิจกรรมการฝึกอบรม 3) ขั้นประเมินผลการฝึกอบรม เป็นการทำงานรายบุคคลและงานกลุ่ม การประเมินผลรูปแบบการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย กิจกรรมการฝึกอบรม ได้แก่ 1) กิจกรรมการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย ประกอบด้วย การฝึกปฏิบัติผ่านเครือข่ายการส่งไปรณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การพูอคุยสนทนากับสมาชิกกลุ่มเวลาเดียวกันผ่านเว็บ การค้นหาทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย การตั้งกระทู้ปรึกษา ตั้งคำถามและติดต่อสื่อสารผ่านเว็บ การส่งงานกลุ่มและรายบุคคล 2) กิจกรรมการฝึกอบรมในห้องฝึกอบรม ประกอบด้วย การปฐมนิเทศ การอภิปรายปัญหา อุปสรรค การฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตการประเมินผลงาน 3.3 ขั้นติดตามผล เป็นการติดตามผลการฝึกอบรมทั้งในด้านทฤษฎีและด้านทักษะ โดยใช้แบบสอบถาม แบบทดสอบ และแบบสัมภาษณ์en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study status, problems and needs of web-based training model for elementary teachers under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission 2) to study specialists' opinions concerning web-based training model for elementary teachers under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission, and 3) to propose web-based training model for elementary teachers under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission. The samples of this research consisted of 270 teachers and 20 specialists. The data were collected by means of questionnaires and three-round of Delphi instruments. The data were analyzed by percentage, median and interquatile range. The results indicated that : 1. Most elementary teachers agreed that web-based training is needed. The content and method of training should include computer knowledge by self-study and group study. The support resources are all resources that related to web-based via network and off network, internet services such as e-mail, web board, web page, chat, search and interaction between trainees. 2. The 166 statements from 184 statements of specilists final consensus were considered for web-based training model for elementary teachers. 3. The web-based training model for elementary teachers under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission consisted of : 3.1 Pre-training step on web includes ten training components : 1) training objectives 2) training curriculum 3) trainees performances and activities 4) qualifications of trainers 5) tasks of trainees 6) qualifications of trainees 7) training media 8) interactive method via network 9) training evaluation and 10) training follow-up study. 3.2 Training step includes : 1) pre-training : introduction to web-based training, group practice on computer and internet. 2) training session : content presentation and activity 3) training evaluation : individual and group work and training process. Training activities : 1) web-based activities : practice on web, e-mail, chat, search, web board, upload-download files and 2) activities in training room : orientation, discussion on problems and constraints, computer and internet skills practice and work evaluation. 3.3 Follow-up steps : include follow-up study on theory and skills using questionnaire, test and interview instrument.en
dc.format.extent1304689 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.477-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectครู--การฝึกอบรมen
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การศึกษาและการสอนen
dc.subjectd 650 7 คอมพิวเตอร์|xการศึกษาและการสอนen
dc.titleการนำเสนอรูปแบบการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานen
dc.title.alternativeA proposed web-based training model for elementary teachers under the jurisdication of the Office of the Basic Education Commissionen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorOnjaree.N@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.477-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phanpimol.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.