Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46651
Title: | Access to and usage of clean water in peri-urban Vietnam : a case study of Gia Lam district, Hanoi |
Other Titles: | การเข้าถึงและการใช้น้ำสะอาดในเขตชานเมืองเวียดนาม : กรณีศึกษาในอำเภอเกียลาม กรุงฮานอย |
Authors: | Nguyen Thi Huyen Cham |
Advisors: | Jakkrit Sangkhamanee |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Political Science |
Advisor's Email: | Jakkrit.Sa@chula.ac.th |
Subjects: | Water use -- Vietnam Water quality management -- Vietnam Water-supply, Rural -- Vietnam การใช้น้ำ -- เวียดนาม การจัดการคุณภาพน้ำ -- เวียดนาม ประปาชนบท -- เวียดนาม |
Issue Date: | 2014 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | It is broadly recognized that water plays an important role in sustainable development, especially for poverty reduction. The challenge is how to ensure water quality and quantity is adequate. Piped water is highly recommended to be used in communities because it is treated properly and can reduce exploitation of groundwater from scattered private wells. In peri- urban Vietnam, the local government of Gia Lam district in Hanoi has made a great deal of effort to set up a piped supply to communes but still usage is low. The purpose of this research is to investigate the situation of clean water usage, analyze the factors which affect to water usage in Gia Lam district and evaluate how water governance in the field works. With this, it hopes to find some solutions to improve clean water usage for the locals in the future. Findings from the research show that the level of clean water usage is not high and there is inequality in usage. The key elements which affect to clean water usage in communes which are covered by piped supply are income, the demography of households and education of household headman. Those communes without access to a piped supply are mainly geographically difficult for water mills to reach. Evaluation shows that in Gia Lam district domestic water governance does not work because it does not achieve the transparency, communication and accountability. From what has been discovered, the study discloses that to improve clean water usage in the district it is necessary to consider how to improve water governance. Also solutions are needed for the challenges affecting clean water usage for communes with and without a piped supply. The research highlights the necessity of clear mandate mechanisms through specific documents, guidelines to all levels, and responsibilities of the district government to be transparent to increase the communicative activities among stakeholders, efficiency and enhance accountability. The paper closes with the some recommendations for specialized ministries, departments, Gia Lam district government to water suppliers to facilitate the implementation of some solutions above. It calls for coordination between relevant agencies vertically and horizontally, with guidelines to Gia Lam district government to deploy water management more effectively. |
Other Abstract: | เป็นที่ทราบกันอย่างกว้างขวางว่าน้ำมีส่วนสำคัญในการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อลดความยากจน ดังนั้น เป้าหมายในการรับรองคุณภาพและปริมาณน้ำได้ถูกกำหนดในประเทศส่วนใหญ่ น้ำประปาได้รับการแนะนำอย่างมากให้ใช้ในชุมชน เพราะไม่เพียงมีการบำบัดน้ำอย่างเหมาะสมแต่ยังลดภัยจากการใช้บ่อน้ำบาดาลของเอกชนที่กระจายอยู่ทั่วไปอีกด้วย ในเขตชานเมืองของเวียดนามที่อำเภอเกียลามในกรุงฮานอยแม้ว่าหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นจะพยายามอย่างมากเพื่อติดตั้งระบบน้ำประปาให้กับชุมชนในพื้นที่ อย่างไรก็ตามผลลัพธ์นั้นยังไม่เป็นที่น่าพอใจ วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือเพื่อสำรวจสถานการณ์ของการใช้น้ำสะอาด วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการใช้น้ำในอำเภอเกียลาม รวมทั้งประเมินธรรมาภิบาลการจัดการน้ำโดยการลงภาคสนาม ทำให้สามารถพบแนวทางแก้ไขบางประการในการปรับปรุงการใช้น้ำสะอาดให้กับคนในพื้นที่ในอนาคต จากงานวิจัยพบว่า การใช้น้ำสะอาดอยู่ในระดับที่ไม่สูงมากและมีความไม่เท่าเทียมกันในการใช้น้ำสะอาด องค์ประกอบสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการใช้น้ำสะอาดในชุมชนที่มีระบบน้ำประปาคือรายได้ ขนาดของประชากร และระดับการศึกษาของครอบครัว ส่วนในชุมชนที่ไม่มีระบบน้ำประปานั้นอุปสรรคทางด้านภูมิศาสตร์เป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ยากที่จะตั้งโรงงานผลิตน้ำ จากหลักเกณฑ์ของธรรมาภิบาลการจัดการน้ำ การประเมินแสดงเห็นว่าธรรมาภิบาลการจัดการน้ำภาคครัวเรือนในอำเภอเกียลามยังไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากยังไม่สามารถสัมฤทธิ์ผลด้านความโปร่งใส การสื่อสาร และความรับผิดชอบ จากที่สิ่งต่างๆ ที่พบ การศึกษาทำให้ทราบว่าการปรับปรุงการใช้น้ำสะอาดในอำเภอที่กล่าวนั้นจำเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงวิธีการพัฒนาธรรมาภิบาลการจัดการน้ำควบคู่กับการคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการใช้น้ำสะอาดทั้งในชุมชนที่มีและไม่มีระบบน้ำประปา งานวิจัยนี้ได้เน้นถึงความจำเป็นของกลไกข้อบังคับที่ชัดเจนผ่านทางเอกสารที่เฉพาะเจาะจง แนวทางปฏิบัติในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานการปกครองในพื้นที่เพื่อปฏิบัติตามหลักความโปร่งใส ดังนั้นจึงจะสามารถเพิ่มการสื่อสารระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับความรับผิดชอบที่สามารถวัดภาระหน้าที่ของแต่ละระดับในเรื่องนี้ งานวิจัยนี้จบด้วยคำแนะนำในการแก้ปัญหาดังกล่าวจากกระทรวง กรม อำเภอเกียลาม ตลอดจนผู้ผลิตและจัดหาน้ำที่มีความเชี่ยวชาญ โดยเรียกร้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อกำหนดและแนวทางปฏิบัติแก่อำเภอเกียลามเพื่อขับเคลื่อนการจัดการน้ำให้ดียิ่งขึ้น เอก: การพัฒนาระหว่างประเทศ คำสำคัญ: การเข้าถึง, การใช้, น้ำสะอาด, เขตชานเมือง, เวียดนาม, ฮานอย, อำเภอเกียลาม ถิ เฮวี่ยน เจิม เหงียน: การเข้าถึงและการใช้น้ำสะอาดในเขตชานเมืองเวียดนาม: กรณีศึกษาในอำเภอเกียลาม กรุงฮานอย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกริช สังขมณี เป็นที่ทราบกันอย่างกว้างขวางว่าน้ำมีส่วนสำคัญในการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อลดความยากจน ดังนั้น เป้าหมายในการรับรองคุณภาพและปริมาณน้ำได้ถูกกำหนดในประเทศส่วนใหญ่ น้ำประปาได้รับการแนะนำอย่างมากให้ใช้ในชุมชน เพราะไม่เพียงมีการบำบัดน้ำอย่างเหมาะสมแต่ยังลดภัยจากการใช้บ่อน้ำบาดาลของเอกชนที่กระจายอยู่ทั่วไปอีกด้วย ในเขตชานเมืองของเวียดนามที่อำเภอเกียลามในกรุงฮานอยแม้ว่าหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นจะพยายามอย่างมากเพื่อติดตั้งระบบน้ำประปาให้กับชุมชนในพื้นที่ อย่างไรก็ตามผลลัพธ์นั้นยังไม่เป็นที่น่าพอใจ วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือเพื่อสำรวจสถานการณ์ของการใช้น้ำสะอาด วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการใช้น้ำในอำเภอเกียลาม รวมทั้งประเมินธรรมาภิบาลการจัดการน้ำโดยการลงภาคสนาม ทำให้สามารถพบแนวทางแก้ไขบางประการในการปรับปรุงการใช้น้ำสะอาดให้กับคนในพื้นที่ในอนาคต จากงานวิจัยพบว่า การใช้น้ำสะอาดอยู่ในระดับที่ไม่สูงมากและมีความไม่เท่าเทียมกันในการใช้น้ำสะอาด องค์ประกอบสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการใช้น้ำสะอาดในชุมชนที่มีระบบน้ำประปาคือรายได้ ขนาดของประชากร และระดับการศึกษาของครอบครัว ส่วนในชุมชนที่ไม่มีระบบน้ำประปานั้นอุปสรรคทางด้านภูมิศาสตร์เป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ยากที่จะตั้งโรงงานผลิตน้ำ จากหลักเกณฑ์ของธรรมาภิบาลการจัดการน้ำ การประเมินแสดงเห็นว่าธรรมาภิบาลการจัดการน้ำภาคครัวเรือนในอำเภอเกียลามยังไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากยังไม่สามารถสัมฤทธิ์ผลด้านความโปร่งใส การสื่อสาร และความรับผิดชอบ จากที่สิ่งต่างๆ ที่พบ การศึกษาทำให้ทราบว่าการปรับปรุงการใช้น้ำสะอาดในอำเภอที่กล่าวนั้นจำเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงวิธีการพัฒนาธรรมาภิบาลการจัดการน้ำควบคู่กับการคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการใช้น้ำสะอาดทั้งในชุมชนที่มีและไม่มีระบบน้ำประปา งานวิจัยนี้ได้เน้นถึงความจำเป็นของกลไกข้อบังคับที่ชัดเจนผ่านทางเอกสารที่เฉพาะเจาะจง แนวทางปฏิบัติในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานการปกครองในพื้นที่เพื่อปฏิบัติตามหลักความโปร่งใส ดังนั้นจึงจะสามารถเพิ่มการสื่อสารระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับความรับผิดชอบที่สามารถวัดภาระหน้าที่ของแต่ละระดับในเรื่องนี้ งานวิจัยนี้จบด้วยคำแนะนำในการแก้ปัญหาดังกล่าวจากกระทรวง กรม อำเภอเกียลาม ตลอดจนผู้ผลิตและจัดหาน้ำที่มีความเชี่ยวชาญ โดยเรียกร้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อกำหนดและแนวทางปฏิบัติแก่อำเภอเกียลามเพื่อขับเคลื่อนการจัดการน้ำให้ดียิ่งขึ้น |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | International Development Studies |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46651 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.407 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2014.407 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5781225224.pdf | 2.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.