Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46728
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุ่นเรือน เล็กน้อย-
dc.contributor.authorธิรดา รัตนาสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2015-09-23T10:19:12Z-
dc.date.available2015-09-23T10:19:12Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46728-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาถึงระดับการมีส่วนร่วมและปัจจัยที่อิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่น ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม รวมทั้งเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรม โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในส่วนการศึกษาเชิงปริมาณใช้วิธีการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างคือ หัวหน้าครัวเรือน หรือผู้ที่สามารถให้ข้อมูลเป็นตัวแทนของครัวเรือน จำนวน 316 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุดและสูงสุด และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุแบบลำดับขั้น สำหรับการศึกษาเชิงคุณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 13 คน และนำเสนอข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมในภาพร่วมอยู่ในระดับมาก โดยมีส่วนร่วมในขั้นปฏิบัติกิจกรรมและขั้นติดตามประเมินผลอยู่ในระดับมาก ในขณะที่มีส่วนร่วมในขั้นคิดและวางแผนอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ พบว่า ความศรัทธาเชื่อถือ ระยะเวลาอาศัยอยู่ในชุมชน ระดับการศึกษา การให้คุณค่าสิ่งแวดล้อม ศืลปกรรม และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ได้แก่ ภาคประชาชนร่วมกันจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น ภาคประชาชนร่วมกันพัฒนา/สร้างยุวมัคคุเทศก์ภาคประชาชนร่วมกัน จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชนด้านวัฒนธรรมประเพณีเกี่ยวกับพระธาตุศรีสองรัก และภาคประชาชนร่วมกันจัดตั้งเครือข่ายประชาชนรักษ์พระธุาติศรีสองรักen_US
dc.description.abstractalternativeTo investigate the levels of the local people’s participation in cultural environment conservation and factors affecting the local’s participation as well as to offer suggestion to the involvement of local people in cultural environment conservation. Quantitative and qualitative methods are applied to conduct this research. As for quantitative methods, questionnaires are sent out and collected from 316 local householders as representative samples. Statistical data, which are frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum and maximum value, and a multiple regression analysis and hierarchical method, are applied to analyze the result of the study. As for qualitative methods, in-depth interview with thirteen key informants are employed and content analysis is used to present data. The result of the study is that the participation of the whole local people who engage in cultural environment conservation is in a high level. Most the high participation level is in monitoring and evaluation process, while the average level of participation is in brainstorming and planning process. The study of factors affecting the local’s participation reveals that faith, belief, time spent in community, level of education, awareness about cultural environment, and access to information are the main factors that influence the participation of local people in cultural environment conservation, with 0.05 statistical significance. The suggestion of the study is that local people should participate in designing local curriculum, training young local guide, establishing cultural learning center and organizing the conservation of Sri Song Rak network.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2031-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.subjectศิลปกรรม -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษาen_US
dc.subjectพระธาตุศรีสองรักen_US
dc.subjectEnvironmental protection -- Citizen participationen_US
dc.subjectArt -- Conservation and restorationen_US
dc.subjectPhra That Sri Song Raken_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปรรม กรณีศึกษาพระธาตุศรีสองรัก จังหวัดเลยen_US
dc.title.alternativeThe participation of local peope on conservation cultural environment : a case study of Phra That Sri Song Rak, Loei provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพัฒนามนุษย์และสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorunruan_t@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2031-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thirada_ra.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.