Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์ชัย ศิรินทร์ภาณุ-
dc.contributor.authorสุรีย์ บุญญานุพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialเชียงใหม่-
dc.date.accessioned2015-11-02T08:11:14Z-
dc.date.available2015-11-02T08:11:14Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745642843-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46893-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en_US
dc.description.abstractจังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญที่สุด ในภาคเหนือตอนบน ทั้งนี้เนื่องจาก ความเป็นศูนย์กลางในด้านการคมนาคม เศรษฐกิจ การศึกษา และการบริการแขนงต่าง ๆ ผลจากความเป็นศูนย์กลางในด้านต่าง ๆ นี้เอง จังหวัดเชียงใหม่จึงถูกกำหนดให้เป็นเมืองหลัก ในการพัฒนาภาคตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 โดยมีแผนงานต่าง ๆ มาก มายเพื่อจะสร้างฐานการพัฒนา เมืองเชียงใหม่ในอนาคต ซึ่งจากแผนงานเหล่านี้จะส่งผลให้เชียงใหม่ทวีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันก็จะส่งผลให้เชียงใหม่มีการขยายตัวมากขึ้นด้วย การที่เมืองมีการขยายตัวย่อมส่งผลให้มีการขยายการใช้ที่ดินประเภทต่าง ๆ ออก ไปด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยายตัวของการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ซึ่งเป็นการใช้ที่ดินประเภทที่มีมากที่สุด และส่งผลกระทบต่อการใช้ที่ดินประเภทอื่น ๆ มากที่สุดด้วย ผลจากการศึกษาถึงการใช้ที่ดินในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ในอดีตที่ผ่านมา พบว่า มีการขยายตัวของการใช้ที่คนออกไปทุกทิศทุกทาง ทั้งนี้โดยมีเส้นทางคมนาคมเป็นปัจจัยนำการ ขยายตัว สำหรับการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ในระยะหลัง พ.ศ. 2520 มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีธุรกิจเกี่ยวกับการจัดสรรบ้านและที่คนเกิดขึ้นหลายแห่ง อย่างไรก็ตามแนวโน้มการขยายตัวของการใช้ที่คนเพื่ออยู่อาศัย เป็นการขยายออกไปรอบนอกเขตเทศบาลเดิม เพราะที่ดินภายในเขตเทศบาลเดิมมีราคาค่อนข้างสูง เป็นผลให้เมืองมีการขยายขนาดออกไปกว้างมาก ขณะที่พื้นที่ภายในเขตเทศบาลเดิมยังคงมีที่ว่างเหลืออยู่ ลักษณะการขยายตัวเช่นนี้เป็นการขยายตัวแบบ Ribbon Development ซึ่งเป็นการขยายตัวที่จะเป็นผลเสียต่อการพัฒนาเมือง อย่างไรก็ไรพื้นที่ว่างภายในเขตเทศบาลที่ยัง เหลืออยู่นี้ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ตอนในของถนน ซึ่งราคา ที่ดินไม่สูงมากและไม่เหมาะที่จะทำเป็นย่านการค้า ดังนั้นเพื่อให้มีการใช้ที่ตนให้คุ้มค่า และป้องกันมีให้เมืองขยายออกไปโดยไม่มีที่สิ้นสุดในการศึกษาครั้งจึง เสนอให้มีการนำพื้นที่ว่างเหล่านี้มาใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย รวมทั้งเสนอให้มีแผนงานเพื่อการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการพักอาศัยในปัจจุบันอีกด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeChiang-Mai is the most important province in the upper northern region of Thailand because it serves as a center for transportation, economic, education, and other public services. Being a center of these services, Chiang-Mai was stipulated by the Fifth National Economic and Social Development Plan, to be the growth center to activate development of the region. The Plan, meanwhile, laid out variety of infrastructure project plans to accelerate the immediate proposed development of Chiang-Maic Consequently; this will contribute a great deal to the increasing role of the Province, as well as contribute to the urban sprawl. Apparently, the urban expansion leads to difference types of land use. Especially, the increasing residential land use is a considerably predominant and results in subsequent impacts to other types of land use. The study of the previous land use in the municipal area of Chiang-Mai shows that the expansion has speeded out in all direction. The major roads branching out from the municipal area are main constituent factors contributing to this expansion of land use. After 1977, the residential land use was significantly increased because of the growth of housing and real estate businesses. The trend of residential land use is expanded around its periphery due to high price of land within the municipal proper. This trend gives rise to wider expansion around the fringe while abandoning some lands inside the municipal area not developed, which is technically called "ribbon development." Such situation apparently affects the urban development of Chiang-Mai. Most of deserted land within the municipal area are located in the inner part between city roads and bear low potential to be developed into commercial areas. The result of this study suggests that these deserted lands be developed for residential in order to delay urban expansion and to make use of land effectively. It is also proposed that plans to tackle with the present housing problems must by inclusively dealt with.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการใช้ที่ดิน -- ไทย -- นครเชียงใหม่(เชียงใหม่)en_US
dc.subjectนครเชียงใหม่ (เชียงใหม่)en_US
dc.titleการวางแผนการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัยในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeResident land use for Chiang-Mai Municipleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวางผังเมืองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suree_bo_front.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_ch1.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_ch2.pdf6.76 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_ch3.pdf7 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_ch4.pdf4.83 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_ch5.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_ch6.pdf5.78 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_ch7.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
Suree_bo_back.pdf8.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.