Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYingyos Avithingsanon-
dc.contributor.advisorNattiya Hirankarn-
dc.contributor.advisorWeerapan Khovidhunkit-
dc.contributor.authorPoorichaya Somparn-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2015-11-26T10:20:45Z-
dc.date.available2015-11-26T10:20:45Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46966-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2011en_US
dc.description.abstractLupus nephritis (LN) is one of the common causes of chronic kidney disease, especially in Asian ethnic. The kidney biopsy score is currently the most important diagnostic and severity-determined biomarker. Inevitably, the non-invasive biomarker is interesting for diagnosis and prognosis of LN due to the risk of post-renal biopsy complications. Urine proteomics are the current interesting tools to enhance discovery of protein urinary biomarkers. In this study, we used 2-dimensional gel electrophoresis (2-DE) and identified the spot difference by electrospray/ liquid chromatography/ mass spectrometry technique (ESI/LC/MS) between urine of active and inactive LN patients. Sixteen proteins were quantitatively different. Zn-alpha2-glycoprotein (ZA2G) and prostaglandin H2 D-isomerase (PGDS) were validated by enzyme-linked immunosorbent assay in a large patient sample set. Urinary ZA2G was increased in both active LN and other glomerular diseases whereas PGDS was increased specifically in active LN. Urinary PGDS might be a good diagnostic and prognostic biomarker for active LN. Moveover, we have studied in patient after treatment with immunosuppressive medicine. Seven proteins were differentially expressed between groups. CD59 and A1M play an immunoprotective role. Further validation in a larger sample size is needed.en_US
dc.description.abstractalternativeโรคลูปัสเป็นโรคไตที่สำคัญที่นำไปสู่ภาวะไตเรื้อรังที่พบได้บ่อยในกลุ่มของชาวเอเชีย ปัจจุบันการวินิจฉัยและพยากรณ์โรคในผู้ป่วยไตอักเสบจากโรคลูปุสทำได้โดยการตัดชิ้นเนื้อไตเพื่อตรวจหาพยาธิสภาพ แต่วิธีนี้มีข้อเสียคือมีความยุ่งยากและผู้ป่วยมีความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนจากการตัดเนื้อเยื่อไตได้ ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาเครื่องหมายทางชีวภาพ (biomarkers) เพื่อใช้เป็นดัชนีบ่งชี้ลักษณะของผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบแยกออกจากผู้ป่วยที่มีอาการสงบของผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส นอกจากนี้ยังได้มีการศึกษาหาโปรตีนที่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยโดยใช้เทคนิค 2-dimensional gel electrophoresis และ LC-MS/MS ผลการศึกษาพบว่า โปรตีน 13 ชนิดที่แตกต่างกันระหว่างของผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบและกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการสงบ จากการตรวจสอบด้วยวิธี enzyme-linked immunosorbent assay พบว่าโปรตีน 2 ชนิด คือ zinc-α2-glycoprotein (ZA2G) และ Prostagladin H2 D-isomerase (PGDS) เพิ่มขึ้นในกลุ่มตัวอย่างคนไข้ โปรตีน ZA2G มีการหลั่งออกมาในปัสสาวะของคนไข้ที่มีอาการกำเริบมากกว่าอาการสงบและมีปริมาณการหลั่งในปริมาณที่ใกล้เคียงกันกับกลุ่มคนไข้ที่มีการรั่วของโปรตีนในปัสสาวะของคนที่ไม่มีการอักเสบของไต สำหรับโปรตีน PGDS พบว่ามีการหลั่งในปัสสาวะของคนไข้ที่มีอาการกำเริบมากกว่าอาการสงบและกลุ่มคนไข้โปรตีนรั่วในปัสสาวะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่าโปรตีน PGDS อาจสามารถเป็นโปรตีนเครื่องหมายเพื่อใช้ในพยากรณ์การกำเริบของผู้ป่วยไตอักเสบลูปัสได้ นอกจากนั้นยังได้หากลุ่มโปรตีนที่แตกต่างกันระหว่างในขณะที่กลุ่มผู้ป่วยที่ตอบสนองและไม่ตอบสนองต่อการรักษา พบว่ามีโปรตีน 7 ชนิดที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่โปรตีน CD59 และ A1M เป็นโปรตีน ที่มีหน้าที่ในการเป็น immunoprotective นอกจากนั้นยังพบว่าโปรตีนทั้งสองชนิดมีการแสดงออกในกลุ่มคนไข้ที่ตอบสนองต่อการรักษาแตกต่างกับกลุ่มคนไข้ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งการค้นพบนี้เป็นข้อมูลที่สำคัญที่จะนำไปพัฒนาการศึกษาต่อไปในอนาคตในกลุ่มคนไข้ที่มีจำนวนมากขึ้น เพื่อใช้เป็นตัวบ่งชี้ในการพยากรณ์ผลสำเร็จของการรักษาได้en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.139-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectUrineen_US
dc.subjectKidneys -- Diseases -- Patientsen_US
dc.subjectAutoimmune diseasesen_US
dc.subjectปัสสาวะen_US
dc.subjectไต -- โรค -- ผู้ป่วยen_US
dc.subjectโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเองen_US
dc.titleUrinary proteomics of lupus nephritisen_US
dc.title.alternativeการศึกษาการแสดงออกของโปรตีนในปัสสาวะของผู้ป่วยไตอักเสบลูปัสen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineBiomedical Sciencesen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorNattiya.H@chula.ac.th-
dc.email.advisorWeerapan.K@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.139-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
poorichaya_so.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.