Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ คงสมบูรณ์
dc.contributor.advisorจรัญ ภักดีธนากุล
dc.contributor.authorรุจิรัตน์ ชุมวรเดช
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2016-02-27T04:08:19Z
dc.date.available2016-02-27T04:08:19Z
dc.date.issued2536
dc.identifier.isbn9745831093
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47208
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการดำเนินคดีอาญามีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาความจริงให้ได้มากที่สุด โดยอาศัยพยานหลักฐานเป็นสื่อในการค้นหาความจริงนั้น พยานหลักฐานที่ดีจะต้องสามารถพิสูจน์ความจริงได้มากที่สุด โดยอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ทางมนุษยธรรมและเอื้ออำนายประโยชน์สูงสุดต่อกระบวนการยุติธรรม อีกทั้งต้องเป็นระบบที่ประหยัด เสมอภาค และสามารถตรวจสอบได้ แต่ในบางกรณีอาจเป็นเรื่องที่อยู่นอกเหนือความรู้ความเข้าใจของศาลหรือบุคคลทั่วๆไป จึงต้องอาศัยผู้ชำนาญการเฉพาะในศาสตร์นั้นๆ ซึ่งในคดีอาญาเรียกบุคคลเหล่านี้ว่า “ผู้ชำนาญการพิเศษ” วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาถึงการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาและการพิสูจน์ผู้ชำนาญพิเศษ ตลอดจนการใช้ดุลพินิจของศาลในการรับฟังและชั่งน้ำหนักคำพยาน ผู้ชำนาญพิเศษ จากการศึกษาพบว่าระบบวิธีพิจารณาคดีอาญาของไทยในส่วนของพยานผู้ชำนาญพิเศษนั้นยังขาดความชัดเจนและวิธีการรับฟังพยานที่เหมาะสม กล่าวคือยังไม่มีหลักเกณฑ์การเข้าสู่กระบวนพิจารณาคดี และไม่มีหลักเกณฑ์การพิสูจน์พยานผู้ชำนาญการพิเศษโดยเฉพาะ เป็นผลให้ไม่อาจได้รับประโยชน์จากพยานผู้ชำนาญการพิเศษได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นในการปรับปรุงการรับฟังพยานผู้ชำนาญการพิเศษให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการยุติธรรมทางอาญา จึงควรที่จะได้มีการดำเนินการในแนวทางต่อไปนี้ คือ ควรจัดให้มีการจัดตั้งองค์กรของกระทรวงยุติธรรมเพื่อรับผิดชอบในการสรรหาและจดทะเบียนผู้ชำนาญการพิเศษ และควรจัดให้มีวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าสู่กระบวนการทางยุติธรรมทางอาญาของผู้ชำนาญการพิเศษเป็นการเฉพาะ เช่น การยื่นบัญชีระบุพยานควรระบุให้ชัดเจนว่าต้องการอ้างพยานในฐานผู้ชำนาญการพิเศษ การส่งสำเนาความเห็นของผู้ชำนาญการพิเศษให้คู่ความทราบล่วงหน้าก่อนวันสืบพยานมีระยะเวลานานกว่าที่กฎหมายปัจจุบันกำหนดไว้ และการเปิดโอกาสให้คู่ความสามารถคัดค้านผู้ชำนาญการพิเศษได้ เป็นต้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of criminal proceeding is to find, as much as possible, the true facts. Evidence produces the key to prove the case. Better evidence is the one that is best proved the fact of the case. However, the fact finding process should be conducted under humanitarian norm, and it should be economical and reviewable. When the fact of the case is beyond the understanding of ordinary person or too technical for judges, “Expert” witness are called to testify. This thesis studies the Administration of Criminal Proceeding, the process of verification of expert and the discretion of the court in admitting expert’s opinion. As a result, this thesis reveals that the Criminal Proceeding in Thailand, especially in the part of expert, is somewhat ambiguous, The method of hearing is not suitable, there is no specific procedure. Also, there is no specific steps of entering into the case of the opinion of the expert. The court deems the opinion of the expert as only equal to general evidence. Therefore, important expert opinion is usually neglected. This thesis is also finds that to improve the better use of the opinion of the expert, the following steps is needed. Firstly, the organic body under the control of the Ministry of Justice should be set up to recruit and to register the experts. Secondly, the special procedures of entering into the case of the opinion of the expert should be provided, for example (a) before entering into the case the statement as “Expert” should be verified (b) copy of the opinion of the expert should be forwarding to the other party in the case at the earliest date possible. Finally expert may be contested by the parties.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพยานหลักฐานen_US
dc.subjectพยานหลักฐานคดีอาญาen_US
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาen_US
dc.subjectEvidenceen_US
dc.subjectEvidence, Criminalen_US
dc.subjectCriminal justice, Administration ofen_US
dc.titleพยานผู้ชำนาญการพิเศษในคดีอาญาen_US
dc.title.alternativeExpert witness in criminal caseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPaitoon.K@chula.ac.th
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rujirut_ch_front.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open
Rujirut_ch_ch1.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open
Rujirut_ch_ch2.pdf11.72 MBAdobe PDFView/Open
Rujirut_ch_ch3.pdf14.46 MBAdobe PDFView/Open
Rujirut_ch_ch4.pdf3.16 MBAdobe PDFView/Open
Rujirut_ch_ch5.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
Rujirut_ch_back.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.