Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47306
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานิจ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.authorวีระ พลอยไป-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-15T03:25:26Z-
dc.date.available2016-03-15T03:25:26Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745688525-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47306-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ กล่าวถึงการศึกษาการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการอบไม้ การศึกษากระทำทั้งทฤษฎีและการทดลอง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโรงอบไม้พลังงานแสงอาทิตย์จัดสร้างขึ้นเพื่อนำไปใช้ทำนายสมรรถนะของโรงอบไม้ซึ้งสร้างขึ้นที่ศูนย์ศิลปาชีพพิเศษ อำเภอสว่างแดนดิน จังวัดสกลนคร แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่ได้จัดสร้างขึ้นประกอบด้วยแบบจำลองย่อย 3 แบบคือ แบบจำลองแผงรับแสงอาทิตย์ แบบจำลองสภาวะอากาศ และแบบจำลองของโรงอบไม้ โรงอบไม้ที่ใช้ทดลองประกอบไปด้วยแผงรับแสงอาทิตย์ พัดลมดูดอากาศ และห้องอบไม้ แผงรับแสงอาทิตย์มีขนาด 34.2 ม2 เอียงทำมุม 17 องศากับแนวราบ การไหลเวียนและถ่ายเทของอากาศภายในโรงอบและระหว่างแผงรับแสงอาทิตย์กับภายในโรงอบอาศัยพัดลมขนาด 30" จำนวน 1 ตัว และพัดลมขนาด 16" จำนวน 2 ตัว ส่วนห้องอบไม้มีขนาด 3.45 x 3.85 x 2.10 ม. ผลการทดลอง ได้ทดลองอบไม้จำนวนสองครั้ง ครั้งแรกเป็นการอบไม้ประดู่ ปริมาตร 1.33 ม3 ที่ความชื้นเริ่มต้น 25% ลงมาที่ 12% (มาตรฐานแห้ง) จะใช้เวลา 11 วัน ในขณะที่การตากแห้งใช้เวลา 26 วัน การอบแห้งไม้ครั้งที่สองเป็นการอบไม้ยูคาลิปตัสและไม้เลี่ยนปริมาตร 2.0 ม3 ความชื้นเริ่มต้น 30% ลงมาที่ 12% (มาตรฐานแห้ง) ภายในเวลา 11 วัน ในขณะที่การตากแห้งใช้เวลา 36 วัน การประเมินผลในเชิงเศรษฐศาสตร์ของโรงอบไม้ ฯ พบว่า เมื่อใช้โรงอบปีละ 8-12 ครั้ง และแต่ละครั้งมีปริมาตรของไม้ที่อบไม่ต่ำกว่า 6.0 ม3 จะเสียค่าใช้จ่ายในการอบ 14.70-7.40 บาท/ฟุต3 ซึ่งต่ำกว่าการนำไม้ไปอบโดยโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งคิดค่าอบไม้ในราคา 18 บาท/ฟุต3 ผลการเปรียบเทียบผลการทดลองกับผลการจำลองแบบทางคณิตศาสตร์พบว่า ค่าการเปรียบเทียบความชื้นของไม้ที่เวลาใดๆ มีค่าใกล้เคียงกัน มีค่าแตกต่างกันไม่เกิน 0.70%en_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis describes the study of a solar energy application in the timber drying process. This included the theoretical and experimental study. The mathematical models for predicting performance of a solar timber dryer, built at the Thai Folk Arts and crafts center at Amphor Swangdandin Sakhon Nakon Province, were formulated. The mathematical model composed of three sub-mathematical model which represented the flat plate solar collector, fan and drying chamber. The flat plate solar collector area is 34.2 m2 and tilted 17 degree with horizontal. Air circulation in the drying chamber is through 30" fan and air circulation between the drying chamber and the collector is through two 16" fans. The drying chamber is 3.45 x 3.85 x 2.10 meters. The drying experiment consisted of two experiments. First experimental results indicated that 1.33 m3 of Pterocarpus macrocarpus (Pradoo) and Afzelia xylocarpa (Ma-ka) drying were reduced from 25% down to 12% moisture content (dry basis). Drying time was 11 days for solar drying while for natural drying was 26 days. The others that 2.0 m3 of Eucalyptus camaldulensis and Melia azedarach (Lien) drying were reduced from 30% down to 12% moisture content (dry basis). Drying time was for solar drying while for natural drying was 36 days. An economic evaluation results of the solar timber dryer indicated that the dryer is operated at its much more 6.0 m3 with 8-12 times of utilization per year will yield the drying cost of 14.70-7.40 baths/ft3 which lower than the drying cost of 18 baths/ft3 charged by industry. The wood moisture content measured from the experiment and the one predicted from the proposal mathematical model are different in the order of 0.70%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพลังงานแสงอาทิตย์en_US
dc.subjectการผึ่งและการอบไม้en_US
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectSolar energyen_US
dc.subjectLumber -- Dryingen_US
dc.subjectMathematical modelsen_US
dc.titleการศึกษาและจำลองแบบของโรงอบไม้พลังงานแสงอาทิตย์en_US
dc.title.alternativeA study and simulation of a solar timber dryeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weera_pl_front.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Weera_pl_ch1.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open
Weera_pl_ch2.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open
Weera_pl_ch3.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Weera_pl_ch4.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open
Weera_pl_ch5.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Weera_pl_ch6.pdf985.75 kBAdobe PDFView/Open
Weera_pl_back.pdf8.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.