Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว-
dc.contributor.authorอำนาจ อุตรมาตย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-25T07:32:59Z-
dc.date.available2016-03-25T07:32:59Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746329065-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47347-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาระบบการเลือกตั้งหลักการใหม่ มาใช้แทนระบบเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากรอบเดียวที่ประเทศไทยใช้อยู่ในปัจจุบัน เพราะระบบดังกล่าวทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการเลือกตั้ง โดยที่ก่อให้เกิดความไม่สอดคล้องกันระหว่างสัดส่วนของคะแนนเสียงเลือกตั้งกับจำนวนที่นั่งในสภา การวิจัยนี้จึงได้นำข้อมูลคะแนนเสียงข้างมากรอบเดียวมาคิดคะแนนแบบสัดส่วน โดยใช้วิธีแบบดองค์ (d’ Hdondt) ผลการศึกษาพบว่า วิธีคิดคะแนนแบบเสียงข้างมากรอบเดียวก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมอย่างน้อยในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ในเขตเลือกตั้งที่พรรคการเมืองได้คะแนนเสียงใกล้เคียงกัน หรือแตกต่างกันไม่มาก ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการเลือกตั้ง ในทางตรงกันข้ามหากเขตเลือกตั้งนั้นพรรคใดได้คะแนนเสียงมากกว่าพรรคอื่นอย่างท้วมท้นแล้วจะไม่พบลักษณะดังกล่าว 2. ในเขตเลือกตั้งใหญ่เล็กที่มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่สองคนขึ้นไป การใช้วิธีคิดคะแนนแบบสัดส่วน มีผลทำให้สัดส่วนระหว่างคะแนนเสียงเลือกตั้งกับจำนวนที่นั่งในสภาที่แต่ละพรรคได้รับแตกต่างกันไปด้วย ระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วนเป็นวิธีที่ดี ทำให้เกิดความเป็นธรรมระหว่างคะแนนเสียงเลือกตั้งกับจำนวนที่นั่งในสภา ซึ่งใช้กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้หลายคนในแต่ละเขตเลือกตั้ง ดังนั้นจึงสามารถนำเอามาใช้แทนระบบเลือกตั้งของไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้ โดยการแก้ไขกฎหมายเลือกตั้งใหม่ เนื่องจาการเลือกตั้งระบบนี้มีลักษณะพรรคเลือกคน ประชาชนเลือกพรรค การนำระบบนี้มาใช้ในพรรคการเมืองของไทยควรมีลักษณะเป็นสถาบันen_US
dc.description.abstractalternativeThe study aims at finding out new model of electoral system to replace the present system of simple majority vote since this method begets certain points that can be considered unjust. It is considered more appropriate if a model of representative electoral system proportional is adopted in Thai electoral system. The simple majority model can be considered “unjust” due to : 1. It is unjust if a winner contenders only slightly. It will be considered “unjust” if he wins by majority. 2. In any electorate either big or small with more than two representative, the proportional model will cause different seat in parliament too. It is considered that the model of proportional representation is appropriate because it is possible for other parties with enough votes to gain seats in parliament. This can be applied be revision of electoral law.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเลือกตั้งen_US
dc.subjectการลงคะแนนเสียงen_US
dc.subjectไทย -- การเมืองและการปกครองen_US
dc.subjectElectionsen_US
dc.subjectVotingen_US
dc.subjectThailand -- Politics and governmenten_US
dc.titleการศึกษากระบวนการทางการเมือง : วิธีการคิดคะแนนการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งแบบเสียงข้างมาก รอบเดียวกับแบบสัดส่วนen_US
dc.title.alternativeA Study of political process : majority and proportional electoral systemsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amnat_ut_front.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Amnat_ut_ch1.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Amnat_ut_ch2.pdf5.7 MBAdobe PDFView/Open
Amnat_ut_ch3.pdf509.54 kBAdobe PDFView/Open
Amnat_ut_ch4.pdf9.82 MBAdobe PDFView/Open
Amnat_ut_ch5.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open
Amnat_ut_back.pdf392.2 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.