Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47348
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวดี วิบูลย์ศรี-
dc.contributor.authorอำภา อนุรักษ์วงศ์ศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-25T07:43:14Z-
dc.date.available2016-03-25T07:43:14Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746349546-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47348-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาแบบสอบความสามารถพื้นฐานทางการเรียนสำหรับเด็กวัยอนุบาล จำนวน 4 ฉบับ คือ แบบสอบความสามารถทางภาษา แบบสอบความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ แบบสอบความสามารถด้านการรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัส และแบบสอบความสามารถด้านเหตุผล ซึ่งลักษณะของแบบสอบแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ แบบสอบเชิงรูปภาพและแบบสอบปฏิบัติ แบบสอบแต่ละฉบับมีจำนวน 20 ข้อ ใช้เวลาในการทำข้อสอบข้อละ 30 นาที กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นอนุบาล 2 ปีการศึกษา 2538 สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 359 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าความยากของแบบสอบทั้ง 4 ฉบับ มีค่าตั้งแต่ .25-.82 และค่าอำนาจจำแนกมีค่าตั้งแต่ .13-.82 2. ค่าความเที่ยงของแบบสอบทั้ง 4 ฉบับ มีค่าเท่ากับ .71, .72, .79 และ .73 ตามลำดับ โดยมีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัด เท่ากับ 1.95, 1.94, 1.89 และ 1.85 ตามลำดับ 3. ความตรงตามสภาพของแบบสอบทั้ง 4 ฉบับ มีค่าเท่ากับ .49, .41, .28 และ .62 4. ความตรงตามภาวะสันนิษฐานของแบบสอบทั้ง 4 ฉบับ พบว่า แบบสอบความสามารถทางภาษา มีข้อสอบจำนวน 11 ข้อ ที่ค่าน้ำหนักตัวประกอบสอดคล้องกับโครงสร้างที่กำหนดโดยมีค่าร้อยละของความแปรปรวน เท่ากับ 31.0 แบบสอบความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ มีข้อสอบ 12 ข้อ ที่มีค่าน้ำหนักตัวประกอบสอดคล้องกับโครงสร้างที่กำหนด โดยมีร้อยละของความแปรปรวนร่วม เท่ากับ 46.5 แบบสอบความสามารถด้านการรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัส มีข้อสอบจำนวน 11 ข้อ ที่มีค่าน้ำหนักตัวประกอบสอดคล้องกับโครงสร้างที่กำหนด โดยมีค่าร้อยละของความแปรปรวนร่วม เท่ากับ 36.80 และแบบสอบความสามารถด้านเหตุผลมีข้อสอบ จำนวน 11 ข้อ ที่มีค่าน้ำหนักตัวประกอบสอดคล้องกับโครงสร้างที่กำหนดโดยมีค่าร้อยละของความแปรปรวนร่วม เท่ากับ 31.60 5. ได้ปกติวิสัยเปอร์เซ็นต์ไทล์ของแบบสอบแต่ละฉบับ จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนชั้นอนุบาล 2 จำนวน 359 คนen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to construct and develop basic ability test for preschool children. There were four subtests : language, mathematic, perception and reasoning, with two types of test : non-verbal test and performance test. Each subtest consisted of 20 items. Time to complete each item was 30 second. The sample consisted of 359 preschool children, academic year 1995, in elementary schools under the Jurisdiction of the Office of the Bangkok Primary Education. These results of the research were as follow : 1. The item difficulty ranged from .25 to .82 and the item discrimination ranged from. .18 to .72 2. Reliabilities of the four subtest were .71, .72, .79 and .73 respectively and the standard error of measurement were 1.95, 1.94, 1.89 and 1.85 respectively. 3. The concurrent validity of the four subtests were .49, .41, .28 and .62 respectively at the significance level of .05. 4. The construct validity of the four subtests were : language test consisted of 11 items which factor loading concordant with the construct and the percentage of accented variance was 31.0, mathematics test consisted of 12 items which factor loading concordant with the construct and the percentage of accounted variance was 46.5, perception test consisted of 11 items which factor loading concordant with the construct and the percentage of accounted variance was 36.80 and reasoning test consisted of 11 items which factor loading concordant with the construct and the percentage of accounted variance was 31.60. 5. Percentile Norm for each subtest was constructed from the sample of 369 preschool children.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาลen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐาน -- การทดสอบความสามารถen_US
dc.subjectKindergartenen_US
dc.subjectBasic education -- Ability testingen_US
dc.titleการพัฒนาแบบสอบความสามารถพื้นฐานทางการเรียนสำหรับเด็กวัยอนุบาลen_US
dc.title.alternativeA development of basic learning ability test for preschool childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ampha_an_front.pdf694.78 kBAdobe PDFView/Open
Ampha_an_ch1.pdf690.44 kBAdobe PDFView/Open
Ampha_an_ch2.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open
Ampha_an_ch3.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Ampha_an_ch4.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
Ampha_an_ch5.pdf802.35 kBAdobe PDFView/Open
Ampha_an_back.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.