Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัณห์ พณิชยกุล-
dc.contributor.authorสมพร ประเสริฐส่งสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-04-05T06:36:28Z-
dc.date.available2016-04-05T06:36:28Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745816299-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47480-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนใบเลี้ยงและส่วนไฮโปคอทิลของฝ้าย 2สปีชี่ คือ Gossypiumhirsutum พันธุ์ศรีสำโรง 2 และฝ้ายน้อย (G. arboretum) บนอาหารสูตร MS ผสมวิตามินสูตร B5 ซึ่งเสริม NAA และ 2,4-D, kinetin และ zeatin พบว่า สัดส่วนของสารควบคุมการเจริญที่เหมาะสมในการชักนำให้เกิดแคลลัสสูงสุดและลักษณะของเซลล์แคลลัสที่มีการเกาะแน่น มีสีเขียว ในฝ้ายทั้ง 2 สปีวี่ที่ใช้ศึกษา เมื่อใช้ NAA 2 มก./ล., kinetin 1 มก./ล. และ NAA 4 มก./ล.,kinetin 1 มก./ล. เป็นสัดส่วนที่เหมาะต่อการเกิดแคลลัสจากส่วนใบเลี้ยงและไฮโปคอทิล ตามลำดับ เมื่อเพาะเลี้ยงแคลลัสบนอาหารแข็งสูตรดัดแปลง MS ที่ไม่มี NH4NO3 แต่เพิ่ม KNO3 เป็น 2 เท่า เสริมด้วย kinetin 0.5 มก./ล.และกลูตามีน 15 มิลลิโมลาร์ สามารถชักนำให้เกิดรากได้ ในการแยกเซลล์ไร้ผนัง พบว่า สามารถแยกได้จากเนื้อเยื่อส่วนใบเลี้ยง, แคลลัสและเซลล์-แขวนลอย ซึ่งเอนไซม์ที่เหมาะสมในการแยกเซลล์ไร้ผนังจากเนื้อเยื่อส่วนใบเลี้ยง คือ ใช้ cellulase R10 0.5% และmacerozyme R10 0.5% สำหรับเนื้อเยื่อแคลลัสและเซลล์แขวนลอยจำเป็นต้องใช้ cellulase R10 2% และ macerozyme R10 0.6% หลังจากการแยกและทำให้เซลล์ไร้ผนังบริสุทธิ์ โดยการกรองและปั่นแยกนำเซลล์ไร้ผนังที่เตรียมได้ไปเลี้ยงในอาหารเหลวสูตรดัดแปลง MS 1/2 สูตร ซึ่งประกอบด้วยสารควบคุมการเจริญ NAA 1 มก./ล., 2,4-D 0.5 มก./ล., kinetin และ zeatin อย่างละ 0.2 มก./ล. ซึ่งเติมน้ำมะพร้าว 10% ปรากฏว่า เซลล์ไร้ผนังจากเนื้อเยื่อทั้ง 3 ส่วน สามารถสร้างผนังเซลล์เกิดขึ้นได้ ภายในเวลา 24 ชั่วโมง อย่างไรก็ตาม เฉพาะเซลล์ไร้ผนังที่แยกจากเนื้อเยื่อแคลลัสเท่านั้น ที่มีการแบ่งเซลล์หลังจากการเลี้ยงในอาหาร 2 วัน โดยที่ฝ้าย G. arboretum มีอัตราการแบ่งเซลล์ (12.6%) สูงกว่าฝ้าย G. hirstum (3.0%).en_US
dc.description.abstractalternativeProcedures for product somatic embryos in cell cultures were described for two species of cotton (Gossypium spp.). The suitable conditions for callus induction and initiation of cell suspension cultures from cotyledon and hypocotyl were defined on MS medium contained B5 vitamins supplemented with NAA and 2,4-D, kinetin and zeatin. The highest percent callusing and green compact cell mass callus were obtained, when these tissues (G. hirsutum cv. Si Samrong 2 and G. arboretum cv. Noi) were grown on the different combinations of NAA and kinetin (2 mg/1 NAA, 1 mg/1 kinetin and 4 mg/1 NAA, 1 mg/1 kinetin for cotyledon and hypocotyl, respectively). Replacing of NH4NO3 by 2 folds of KNO3 with 0.5 mg/1 kinetin and 15 mM glutamine caused root formation from calli. Protoplasts were isolated from cotyledon, callus and cell suspension cultures of these two species of cotton. The enzyme solution for protoplasts production from cotyledon contained 0.5% cellulose R10, 0.5% macerozyme R10. Slight difference in enzvme concentration (2% cellulose R10, 0.6% macerozyme R10) were indicated for optimum production of protoplasts from callus and cell suspension cultures of these cotton specie. The purified protoplasts (floating three times on 21% sucrose) were cultured in the 1/2 MS liquid medium supplemented with 1 mg/1 NAA, 0.5 mg/1 2,4-D, 0.2 mg/1 kinetin and 0.2 mg/1 zeatin. Addition of coconut water 10% was found essential for cell wall regeneration in 24 hours. Protoplasts isolated from callus began cell division after 2 days in culture medium. Division efficiency for G. arboretum was higher (12.6%) in comparison to G.hirsutum (3.0%).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฝ้ายen_US
dc.subjectการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชen_US
dc.subjectแคลลัส (พฤกษศาสตร์)en_US
dc.titleการเกิดต้นจากแคลลัสและเซลล์ไร้ผนังของฝ้าย (Gossypium spp.)en_US
dc.title.alternativePlant regeneration from callus and protoplast of cotton (Gossypium spp.)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somporn_pr_front.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_pr_ch1.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_pr_ch2.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_pr_ch3.pdf9.75 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_pr_ch4.pdf3.16 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_pr_back.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.