Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัญจนา บุณยเกียรติ
dc.contributor.authorวัลลิกา คงเจริญ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2016-05-26T09:47:59Z
dc.date.available2016-05-26T09:47:59Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745767077
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47635
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractในการนำถ่านหินมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ควรทราบถึงความว่องไวของเชื้อเพลิงเพื่อจะใช้ทำนายปรากฏการณ์การเผาไหม้ที่เกิดขึ้นจริงในการใช้งานระดับอุตสาหกรรมได้ หรือใช้เลือกเชื้อเพลิงที่เหมาะสมกว่า งานวิจัยนี้ศึกษาถึงคุณสมบัติทางด้านความสามารถในการเผาไหม้ของถ่านหินในเทอมของ ค่าพลังงานกระตุ้นเฉลี่ยทางน้ำหนัก (Weighted Mean Activation Energy, Em) และอุณหภูมิที่มีอัตราการเผาไหม้สูงสุด (Peak Temperature,PT) โดยทำการทดลองการเผาไหม้ของถ่านหิน 10 ตัวอย่าง ซึ่งมีปริมาณคาร์บอนคงตัว ปริมาณสารระเหยได้ และค่าความร้อนของถ่านหินอยู่ในช่วง 22.13-78.08, 7.36-44.03 เปอร์เซนต์ และ 2,798-7,018 แคลอรีต่อกรัมตามลำดับ ช่วงอุณหภูมิที่ศึกษา 25-1200 องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะของอากาศโดยใช้เครื่องวิเคราะห์ทางอุณหภูมิและความร้อน (Simultaneous DTA and Thermogravimetric Analyser) ถ่านหินที่ใช้มีขนยาดเล็กกว่า 75 ไมโครเมตร ปริมาณ 20 ±0.5 มิลลิกรัมต่อครั้ง โดยเพิ่มอัตราการให้ความร้อนจาก 2 เป็น 10 และ 20 องศาเซลเซียสต่อนาที จากการทดลองพบว่าเมื่ออัตราการให้ความร้อนเพิ่มขึ้นจาก 2 เป็น 10 และ 20 องศาเซลเซียสต่อนาที จะได้อุณหภูมิที่มีอัตราการเผาไหม้สูงสุด,PT เพิ่มขึ้นอยู่ในช่วง 317-494, 355 – 595 และ 380-635 องศาเซลเซียส และค่าพลังงานกระตุ้นเฉลี่ยทางน้ำหนักลดลงอยู่ในช่วง 30.30-91.44, 29.23-60.22 และ 18.71-60.20 กิโลจุลต่อโมลตามลำดับ และพบว่าว่า Em จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณสารระเหยได้ลดลง ปริมาณคาร์บอนคงตัว และค่าความร้อนของถ่านหินเพิ่มขึ้น ที่อัตราการให้ความร้อนเดียวกับพบว่าค่า Em สัมพันธ์กับ PT โดยมีแนวโน้มไปในทางเดียวกัน ดังนั้นจึงสามารถใช้ค่า Em เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถในการเผาไหม้ของถ่านหินแทน PT ได้ และสามารถใช้จำแนกถ่านหินออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีความสามารถในการเผาไหม้สูง (Em อยู่ในช่วง 29.83-48.05 กิโลจุลต่อโมล) ปานกลาง (Em อยู่ในช่วง 42.37-74.18 กิโลจูลต่อโมล) และต่ำ (Em อยู่ในช่วง 58.31-88.10 กิโลจูลต่อโมล)en_US
dc.description.abstractalternativeIn this study, reactivity of coals was determined in terms of weighted mean activation energy, Em and burning profile peak temperature, PT. Ten samples of coal with fixed carbon, volatile matter and heating value in the range of 22.13-78.98 %, 7.36-44.03 % and 2,798-7,018 cal/g were examined as part of coal characterization programme. Coal combustion 0experiments were carried out in a simultaneous differential thermal and thermogravimetric analyser over the temperature range 25 – 1200 degree celcius and air flow rate at 75 ml/min., employing coal sizes smaller than 75 micrometer. Sample sizes were 20.0±0.5 mg. with varying heating rate at 2, 10, 20 degree celcius per min. Results were as follows : with increasing heating rate from 2, 10 and 20 degree celcius per min., peak temperature increased from 317- 454, 355-595 to 380-635 degree celcius but their actvation energies decreased in the range of 30.30-91.44, 29.23-60.22 and 18.71-60.20 kJ/mol, respectively. Em also increased with decreasing volatile matter, but with increasing fixed carbon and heating value. At the same heating rate, it found that both Em and PT can be used to predict reactivity of coal. From the studies, Thai coals can be classified according to their reactivity employing Em values into three groups, i.e., highly reactive (Em 29.63-48.05 kJ/mol), moderately reactive (Em 42.37-74.18 kJ/mol) and non reactive (Em 58.31-88.10 kJ/mol)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectถ่านหิน -- การเผาไหม้en_US
dc.subjectการวิเคราะห์ทางความร้อนen_US
dc.subjectถ่านหิน -- ไทยen_US
dc.titleการบ่งความสามารถในการเผาไหม้ของถ่านหินในรูปของ ค่าพลังงานกระตุ้นเฉลี่ยทางน้ำหนักen_US
dc.title.alternativeCombustibility assessment of coals via a weighted mean activation energyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKunchana.B@Chula.ac.th
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vallika_ko_front.pdf925.41 kBAdobe PDFView/Open
Vallika_ko_ch1.pdf532.95 kBAdobe PDFView/Open
Vallika_ko_ch2.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open
Vallika_ko_ch3.pdf493.72 kBAdobe PDFView/Open
Vallika_ko_ch4.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open
Vallika_ko_ch5.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Vallika_ko_back.pdf4.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.