Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิเชียร เต็งอำนวย-
dc.contributor.authorสุวรรณ เชี่ยวชาญศิลป์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-06T09:37:26Z-
dc.date.available2016-06-06T09:37:26Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745687405-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47971-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการส่งถ่ายน้ำหนักสถิต และการคาดคะเนความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ การศึกษาพฤติกรรมการส่งถ่ายน้ำหนักสถิตของเสาเข็มนี้ วิธีที่ใช้ศึกษา ได้แก่ Distribution Function Approach และ Elastic Solid Approach ผลจากการศึกษาโดยวิธี Distribution Function Approach เมื่อเขียนเป็นเส้นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง α และ C Ks tan Ø'a และ Ø'Nq และ Ø 'ปรากฏว่า มีแนวโน้มเดียวกับผลการศึกษาของผู้ศึกษารายอื่น ส่วนการศึกษาโดยวิธี Elastic Solid Approach พบว่า น้ำหนักที่ส่งถ่ายจากเสาเข็มเจาะไปสู่ชั้นดินต่างๆ จะเพิ่มขึ้นตามความลึกของเสาเข็มที่เพิ่มขึ้น การศึกษาการคาดคะเนความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะนั้น วิธีที่ใช้ศึกษาได้แก่ Soil Mechanics Method และวิธีวิเคราะห์ข้อมูลการทดสอบความสามรถในการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ ซึ่งเสนอโดย Bullen (1958) Chin (1970) และ Mazurkiewicz (1972) น้ำหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเจาะที่ได้จากการคาดคะเนโดยวิธีต่างๆ ดังกล่าวนี้ จะเปรียบเทียบกับน้ำหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเจาะที่ได้จากการทดสอบในสนาม จากการศึกษาพบว่า การคาดคะเนโดยวิธี Soil Mechanics ให้ผลมีแนวโน้มอยู่ในขอบเขตที่ยอมรับได้ สำหรับการคาดคะเนโดยวิธีวิเคราะห์ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะนั้น วิธีที่เสนอโดย Bullen ยังไม่เหมาะที่จะนำไปใช้ได้ในทางปฏิบัติ ส่วนในการวิเคราะห์ตามวิธีที่เสนอโดย Chin และ Mazurkiewicz นั้น การวิเคราะห์ได้วิเคราะห์โดยแบ่งออกเป็นสามกรณี คือ สองกรณีแรก วิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลการทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ เฉพาะแต่ที่อยู่ในช่วงประมาณ 0.3 และ 0.6 เท่าของ plunging failure load ส่วนกรณีที่สาม วิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลการทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ ตั้งแต่แรกเริ่มรับน้ำหนักจนถึงเข้าใกล้ plunging failure load ผลการศึกษาปรากฏว่า วิธีของ chin ให้ผลการคาดคะเนที่ยอมรับได้ ต่อเมื่อข้อมูลการทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะที่ใช้ในการวิเคราะห์อยู่ในกรณีที่สามเท่านั้น และวิธีของ Mazurkiewicz ให้ผลการคาดคะเนที่ยอมรับได้ ต่อเมื่อการวิเคราะห์อยู่ในสองกรณีหลังดังกล่าวen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to investigate the behavior of static load transfer of bored piles. In addition, the predictations of carrying capacity of bored piles are also of interest. The study on the behavior of static load transfer of bored piles is emphasized on the two methods as the Distribution Function Approach. The relationship between α and C ,Ks tan Ø'a and Ø', Nq and ' obtained from the Distribution Function Approach are in the same tendency as the result of the previus researchers. For the Elastic Solid Approach, the study reveals that the load transfer increases with depth of pile. The other purpose of this study on the predications of the carrying capacity of bored piles will use the Soil Mechanics Method and methods of analyzing the load settlement characteristic presented by the specified previous researcher as Bullen (1985) Chin (1970) and Mazurkiewicz (1972). The ultimate carrying capacity of bored piles obtained from the above mentioned methods are compared to the observed failure load of piles from the insitu test. The study reveals that the predication by using the Soil Mechanics Method gives the result of ultimate carrying capacity of which a tendency within the acceptable limit. For other methods presented, ie, Bullen's method is not appropriate method in practice, the methods of Chin and Mazurkiewicz are analyzed by using each pile load test data keeping into three cases. The first two cases use the data in the range of about 0.3 and 0.6 of plunging failure load. The last case use all of the data from the beginning to approach the plunging failure load. The study reveals that the predictation by Chin's method yields the result to be an over estimation tendency within the acceptable limit which is restricted to only in case three. Finally, the predication by Mazurkiewicz's method gives an acceptable good estimation only in case two and three.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเสาเข็มเจาะen_US
dc.subjectดิน -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectปฐพีกลศาสตร์en_US
dc.subjectการส่งถ่ายน้ำหนักสถิตen_US
dc.subjectDead loads (Mechanics)en_US
dc.titleการส่งถ่ายน้ำหนักสถิตและการคาดคะเนความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุก ของเสาเข็มเจาะen_US
dc.title.alternativeStatic load transfer and predictations of corrying capacity of bored pilesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwon_ch_front.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Suwon_ch_ch1.pdf431.52 kBAdobe PDFView/Open
Suwon_ch_ch2.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open
Suwon_ch_ch3.pdf420.25 kBAdobe PDFView/Open
Suwon_ch_ch4.pdf7.6 MBAdobe PDFView/Open
Suwon_ch_ch5.pdf270.46 kBAdobe PDFView/Open
Suwon_ch_back.pdf23.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.