Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทัย บุญประเสริฐ-
dc.contributor.authorสุวัฒน์ แสนทวี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-07T03:43:00Z-
dc.date.available2016-06-07T03:43:00Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746325728-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48033-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี ผลการวิจัยพบว่า โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี ส่วนใหญ่ได้กำหนดโครงสร้างการบริหารงานวิชาการอย่างเป็นทางการ มีการกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคลากรในสายงานวิชาการอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน โรงเรียนต่าง ๆ มีการจัดหาหลักสูตรและเอกสารหลักสูตรเพียงพอ และครูส่วนใหญ่ศึกษาหาความรู้เรื่องหลักสูตร โดยการศึกษาจากเอกสารด้วยตนเอง โรงเรียนสนับสนุนให้ครูปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนโดยการส่งครูเข้ารับการอบรม โรงเรียนจัดสรรงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ สำหรับการจัดทำสื่อการเรียนการสอนเพิ่มเติม และจัดบริการสื่อการเรียนการสอน โรงเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องสื่อการเรียนการสอน บางกลุ่มประสบการณ์ไม่เพียงพอ ในด้านการวัดผลและประเมินผล โรงเรียนกำหนดปฏิทินการปฏิบัติงานวัดผลและประเมินผลการเรียนการสอน จัดทำเครื่องมือวัดจุดประสงค์การเรียนรู้ โรงเรียนจัดห้องสมุด หรือมุมหนังสือเพื่อส่งเสริมการอ่าน และการค้นคว้า มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ห้องสมุด โรงเรียนมีปัญหาหนังสือสำหรับการอ่านและการค้นคว้ามีไม่เพียงพอ ในด้านการนิเทศภายในโรงเรียนได้จัดให้มีการนิเทศภายใน และจัดกิจกรรมการนิเทศโดยการประชุมอบรมen_US
dc.description.abstractalternativeThe ourouse of this study was to investigate he condition and problem of the academic administration in elementary school under the jurisdiction of the office of Saraburi provincial primary education. The finding revealed: The elementary school have established specific structure for academic administration and assigned responsabilities to academic acomittee in each school. Curriculum for teacher are sufficient. The teacher have been encouraged to develop there teaching skills through training course and regular school supervision program.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารการศึกษาen_US
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหารen_US
dc.subjectงานวิชาการen_US
dc.titleการศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรีen_US
dc.title.alternativeA study of academic administration of the elementary schools under the jurisdiction of the Office of Saraburi Provincial Primary Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorUthai.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwat_sa_front.pdf8.96 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_sa_ch1.pdf11.62 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_sa_ch2.pdf76.11 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_sa_ch3.pdf5.88 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_sa_ch4.pdf68.2 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_sa_ch5.pdf22.11 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_sa_back.pdf35.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.