Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48153
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา-
dc.contributor.authorวรนารถ แก้วคีรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T01:58:21Z-
dc.date.available2016-06-08T01:58:21Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745817295-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48153-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการเกิดโรคระบาดเป็นปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งในสังคมไทย การเกิดขึ้นของโรคระบาดนำมาซึ่งการสูญเสียของพลเมือง แต่เนื่องจากผู้นำในสมัยก่อนมิได้มีความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค จึงทำให้ไม่สามารถจะป้องกันการเกิดของโรคระบาดได้ การเรียนรู้ในวิทยาการตะวันตกของชนชั้นนำไทย ได้เริ่มมาตั้งแต่ปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จากการเดินทางเข้ามาของมิชชั่นนารีโปรแตสแตนท์ มาถึงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ วิทยาการตะวันตกได้ปรากฎชัดเจนในสังคมไทยแล้ว โดยที่พระองค์และชนชั้นนำบางส่วนได้เรียนรู้ในวิทยาการตะวันตกเหล่านี้ และส่วนหนึ่งของวิทยาการที่เข้ามาคือความรู้เกี่ยวกับการแทย์แผนตะวันตก ซึ่งนำความรู้เกี่ยวกับการเกิดโรคว่า เกิดจากสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ซึ่งมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น มิใช่เกิดจากผลกรรมหรืออำนาจลึกลับต่าง ๆ จากการที่ล่วงรู้ถึงสาเหตุของการเกิดโรค จึงนำไปสู่การพยายามทำวิธีการป้องกันมิให้เกิดโรคระบาดขึ้น เมื่อประกอบกับการเปลี่ยนแนวความคิดที่ให้ความสำคัญกับพลเมืองมากขึ้นในฐานะกำลังของประเทศ ทำให้รัฐมีนโยบายในการป้องกันการสูญเสียพลเมืองจากการระบาดของโรค อันนำไปสู่ความพยายามในการป้องกันการเกิดโรค ทั้งการออกพระราชบัญญัติต่าง ๆ การตั้งด่านกักโรค ตลอดจนการรักษาพยาบาล ความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการพยายามของรัฐในช่วงนั้น แม้จะมิได้เห็นได้อย่างชัดเจนนักแต่ก็นับได้ว่าเป็นการวางรากฐานต่อการกัฒนาการป้องกันโรค และการสาธารณสุขแผนใหม่ในสังคมไทยen_US
dc.description.abstractalternativeEpidemic diseases outbreak has long been one of the more critical problems of Thai society, bringing with it great loss of lives. Since Thai elites during the pre-modern era lacked basic public health knowledge, they often could not prevent the recurrence of disease outbreaks. During the reign of Rama III, the King and the Thai elite started acquiring western knowledge and technology, including modern medicine, and in particular, etiology, and thus realized that diseases originated in microbes, not in karma or supernatural power. From this scientific basis as well as an awareness of the critical role of human resources in national development and social reform during this reign, a rudimentary epidemic disease prevention program was introduced. This was accomplished through the proclamation of a number of royal decrees on sanitation and public health, and through the establishment of health guarantines and modern medical facilities throughout the country. The effort of the government in preventing the outbreak of epidemic diseases, though initially not well understood by the public at large, has helped lay down a solid foundation for later development of both outbreak prevention and public health in Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleโรคระบาดในชุมชนภาคกลางของไทย พ.ศ. 2440-2475 : การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์en_US
dc.title.alternativeEpidemic diseases in the communities of Central Thailand (1897-1932) : a historical studyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuwadee.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Voranart_ke_front.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Voranart_ke_ch1.pdf683.28 kBAdobe PDFView/Open
Voranart_ke_ch2.pdf5.26 MBAdobe PDFView/Open
Voranart_ke_ch3.pdf7.24 MBAdobe PDFView/Open
Voranart_ke_ch4.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open
Voranart_ke_ch5.pdf835.04 kBAdobe PDFView/Open
Voranart_ke_back.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.