Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล รอดคำดี-
dc.contributor.authorลัดดา ประพันธ์พงษ์ชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T03:40:39Z-
dc.date.available2016-06-08T03:40:39Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745823309-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48206-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและเนื้อหารายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนเพื่อทราบถึงบทบาทหน้าที่ของรายการโทรทัศน์ที่มีต่อการส่งเสริมสุขภาพโดยผู้วิจัยได้ศึกษาเฉพาะรายการและสปอตเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยที่แพร่ภาพในเดือนตุลาคม 2535 ทางสถานีโทรทัศน์ที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร 5 สถานีทุกรายการยกเว้นรายการเพื่อการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผลการวิจัยพบว่ามีรูปแบบรายการ 4 ประเภทคือ นิตยสารทางอากาศ 2 รายการ: สารคดี 8 รายการ ละครสั้น 3 รายการและรายการสนทนา 1 รายการ และพบว่ามีเนื้อหารายการในสาขาอายุรศาสตร์มากที่สุด รองลงมาได้แก่สาขาจิตเวชศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์และสาขาอื่นๆและเนื้อหาดังกล่าวสะท้อนแนวคิดด้านการส่งเสริมสุขภาพในเรื่องความรู้ด้านการป้องกันและควบคุมโรคการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยและการรักษาพยาบาล ผลการศึกษาพบด้วยว่ามีเทคนิคการนำเสนอรายการ 4 ลักษณะคือการบรรยาย การบรรยายสลับการสัมภาษณ์ การสนทนาและนำเสนอในรูปแบบละครสั้น โดยสรุปพบว่าเนื้อหารายการสุขภาพอนามัยที่มีในสาขาต่างๆ สะท้อนแนวคิดเรื่องการป้องกันและการควบคุมโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยซึ่งเป็นแนวทางความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพจึงสรุปได้ว่าสื่อโทรทัศน์ได้ดำเนินการตามภาระหน้าที่ของสื่อและมีส่วนในการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to analyse the format and content of the health television programs on health promotion and to analyse the role of television on health promotion to the public. Health programs and spots of 5 television stations in Bangkok broadcasted in the month of October 1992 were analysed. The educational programs of Sukhothai Thammathirat Open University excluded from this study. The results showed that there were 4 categories of television programs on health. The programs were presented in different format. There were 2 magazine-typed, 8 documentaries, 3 short dramas and I conversation. The Findings also showed that the contents of health program were mostly in the areas of Internal Medicine, Psychiatry, Pediatrics and other medical areas, respectively. The contents of health television programs were focused on the knowledge of prevention, control of disease, patient rehabilitation, therapeuty and nursing care. Four types of program presentation were aired; Lecture, lecture and interview, conversation and short drama. It can be concluded that television as a mass media has supported the health promotion.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโทรทัศน์ -- การจัดรายการen_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.titleการวิเคราะห์รายการสุขภาพอนามัยทางโทรทัศน์ ที่มีต่อการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.title.alternativeThe analysis of the health television programs on health promotionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJoompol.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ladda_pr_front.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Ladda_pr_ch1.pdf847.08 kBAdobe PDFView/Open
Ladda_pr_ch2.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Ladda_pr_ch3.pdf967.83 kBAdobe PDFView/Open
Ladda_pr_ch4.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Ladda_pr_ch5.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Ladda_pr_ch6.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Ladda_pr_back.pdf415.69 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.