Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเครือวัลย์ ลิ่มอภิชาต-
dc.contributor.authorสุรเดช โชติยะศิลป์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T06:13:07Z-
dc.date.available2016-06-08T06:13:07Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745760544-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48272-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารงานของศูนย์ประสานการพัฒนาชนบทระดับจังหวัด (ศปช.จ.) ในมิติเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางการบริหาร ปัจจัยเบื้องต้นทางการบริหาร กระบวนการทางการบริหารและการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการจัดตั้ง ศปช.จ. ตลอดจนปัญหาอุปสรรคและแนวทางแกไขปัญหาดังกล่าว ผลการวิจัยสรุปได้เป็น 7 ส่วน ดังนี้ (1) สภาพแวดล้อมทางการบริหาร พบว่า เจ้าหน้าที่เห็นความจำเป็นและประโยชน์ในการจัดตั้ง ศปช.จ. และรูปแบบการจัดองค์กรของ ศปช.จ. ว่ามีความเหมาะสมระดับสูง รวมทั้งเห็นว่า ศปช.จ. ไม่ซ้ำซ้อนกับองค์กรที่มีอยู่เดิมและมีจำนวนคณะทำงานเหมาะสมดีแล้ว (2) ปัจจัยเบื้องต้นทางการบริหาร พบว่า ลักษณะภูมิหลังเจ้าหน้าที่มีความเหมาะสมระดับสูง แต่จำนวนอัตรากำลังความสะดวกและเพียงพอของวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ปฏิบัติงานและงบประมาณมีความเหมะสมระดับปานกลาง (3) กระบวนการทางการบริหาร พบว่า ภาวะผู้นำมีความเหมาะสมระดับสูง แต่ความเข้าใจนโยบายของ ศปช.จ. การวางแผนปฏิบัติงาน การประสานงาน ขวัญและแรงจูงใจ เอกภาพการบังคับบัญชา การรายงานผลและการประเมินและติดตามผลมีความเหมาะสมระดับปานกลาง (4) การบรรลุผลสัมฤทธิ์ พบว่า ภายหลังการจัดตั้งคณะทำงานมีการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในทุกเรื่องสูงกว่าก่อนการจัดตั้งคณะทำงาน (5) การเปรียบเทียบความเห็นระหว่างกลุ่มผู้บริหารงานกับกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน พบว่า ทั้งสองกลุ่มมีความเห็นแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (6) การเปรียบเทียบความเห็นระหว่างกลุ่มจังหวัดที่หน.สนจ. ระดับ 8 กับกลุ่มจังหวัดที่ หน.จ.ระดับ 7 พบว่า มีเพียงความเห็นต่อกระบวนการทางการบริหารเท่านั้นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (7) การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบรรลุสัมฤทธิในการจัดตั้ง ศปช.จ. อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พบว่า ได้แก่ การได้รับความสนใจและสนับสนุนจากผวจ. การประสานงานระหว่างคณะทำงานกับ ศปช.จ. และความสะดวกและเพียงพอของวัสดุอุปกรณ์en_US
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted for the purpose of studying the administration of Provincial Rural Development Center (PRDC) with emphasis on PRDC’s administrative environment, basic factors, process as well as its achievement. The research yielded seven interesting findings : (1) Regarding administrative environment, it was found that most of PRDC officers highly recognized the necessity and usefulness of establishing PEDC’s functions did not overlap with existing organizations and that the number of committee was appropriate. (2) Regarding administrative basic factors, it was found that officers’ background were evaluated as qualified while manpower, facilities, budget and office location were moderately appropriate. (3) Considering administrative process, leadership styles were rated appropriate whereas policies, planning, coordination, morale and motivation, unify of command, reporting and evaluation were rated moderately appropriate. (4) The degree of its achievement was relatively high, after PRDC committee was set up. (5) No statistical difference existed between administrative group and operational group, with regarded to opinion concerning PRDC’s environment , basic factors, process and achievement. (6) Comparing between group of heads of province office level 8 and group of heads of province office level 7, significant statistical difference existed only in administrative process. (7) Factors statistically significant related to the PRDC achievement were : support of governors ; the coordination between working committee and PRDC ; and the convenience and accessibility of facilities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศูนย์ประสานการพัฒนาชนบทระดับจังหวัดen_US
dc.subjectการพัฒนาชนบท -- ไทยen_US
dc.subjectแบบจำลองซิปen_US
dc.subjectการจัดการen_US
dc.titleการบริหารงานของศูนย์ประสานการพัฒนาชนบทระดับจังหวัดen_US
dc.title.alternativeThe administration of provincial rural development centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suradej_ch_front.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open
Suradej_ch_ch1.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Suradej_ch_ch2.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Suradej_ch_ch3.pdf5.7 MBAdobe PDFView/Open
Suradej_ch_ch4.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Suradej_ch_ch5.pdf8.98 MBAdobe PDFView/Open
Suradej_ch_ch6.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open
Suradej_ch_back.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.