Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48279
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.authorวรพงศ์ วรชาติอุดมพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T06:21:03Z-
dc.date.available2016-06-08T06:21:03Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745696811-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48279-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความชอบและไม่ชอบของเด็กอนุบาลและผู้ปกครองที่มีต่อรูปแบบภาพประกอบหนังสือภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนชาย-หญิงที่กำลังเรียนอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 และ 2 จำนวน 6 แห่งแห่งละ 25 คน รวม 150 คน และผู้ปกครองของเด็กนักเรียนกลุ่มดังกล่าว 150 คน กลุ่มตัวอย่างทุกคนได้ผ่านการทดสอบตาบอดสีของ เอส อิชิฮารา เพื่อเข้ารับการทดลองในการคัดเลือกภาพที่ชอบและไม่ชอบทีละคน โดยจะเลือกภาพที่ชอบมากที่สุด 5 ลำดับ และภาพที่ไม่ชอบมากที่สุดอีก 5 ลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นภาพเขียนต้นฉบับจำนวน 16 ภาพ ซึ่งมีรูปแบบเฉพาะที่แตกต่างกันโดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มภาพเหมือนจริงและกลุ่มภาพแบบจินตนาการ ภาพในแต่ละกลุ่มจะประกอบไปด้วยลักษณะการใช้สี การจัดองค์ประกอบภาพ และเทคนิคการสร้างภาพนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์หาค่าน้ำหนัก ค่าเฉลี่ย และทดสอบความแตกต่างด้วยค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ว่าเด็กอนุบาลและผู้ปกครองมีความชอบและไม่ชอบในรูปแบบภาพประกอบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เด็กและผู้ปกครองชอบภาพลักษณะเหมือนจริงเขียนด้วยพูกันมากที่สุด ไม่ชอบภาพแบบจินตนาการ และการสร้างภาพแบบปะติด เด็กจะชอบภาพสีวรรณะอุ่น จัดองค์ประกอบภาพแบบไม่สมดุลย์ซ้าย-ขวา แต่ผู้ปกครองชอบสีวรรณะเย็น จัดองค์ประกอบภาพแบบสมดุลย์ซ้าย-ขวามากกว่าen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to compare the preferences of kindergarten children and their parents on different illustrative styles in picture books. The subjects in this research were 150 first year and second year kindergarten children from 6 different schools, and 150 of their parents. They were first given a color blindness test and were then asked to view a series of picture from which they should select their five most favorite and their five least favorite. Instruments used in this study were 16 original paintings of two styles-realistic and imaginary. Eight pictures of each style varied in composition and tone of colors. The results of this research may be summarized as follows : The preferences of the children and their parents on illustration are significantly different at the level of 0.05. The children and their parents prefer realistic pictures and brush painting illustrations to the imaginary pictures and the collage illustrations. While the children prefer warm-tone colors and assymmetrical-balanced pictures, their parents prefer cool-toned colors and symmetrical-balanced pictures.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหนังสือภาพสำหรับเด็ก -- ไทยen_US
dc.subjectวรรณกรรมสำหรับเด็กen_US
dc.subjectสีและการใช้สีen_US
dc.titleการเปรียบเทียบความชอบและไม่ชอบของเด็กอนุบาลและผู้ปกครอง ที่มีต่อรูปแบบภาพประกอบหนังสือภาพen_US
dc.title.alternativeA comparison of the preferences of kindergarten children and their parents on illustrative styles in picture booksen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChawalert.L@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Woraphong_wo_front.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open
Woraphong_wo_ch1.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open
Woraphong_wo_ch2.pdf5.47 MBAdobe PDFView/Open
Woraphong_wo_ch3.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Woraphong_wo_ch4.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open
Woraphong_wo_ch5.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open
Woraphong_wo_back.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.