Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48350
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ กัมพูสิริ-
dc.contributor.advisorวิมลศิริ ชำนาญเวช-
dc.contributor.authorวรพรรณ ชังพิชิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T15:01:47Z-
dc.date.available2016-06-08T15:01:47Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745774359-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48350-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractในกฎหมายครอบครัวไทยปัจจุบัน เมื่อเกิดการหย่าร้างไม่ว่าโดยความยินยอมหรือโดยคำพิพากษาของศาล หากมีบุตรจะต้องแบ่งบุตรกันให้เด็ดขาดว่าใครจะเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งจะมีเพียงสิทธิติดต่อกับบุตรเท่านั้น ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ว่าใครจะเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองศาลจะเป็นผู้ชี้ขาด และในบางกรณีศาลอาจจะตัดสินให้บุคคลภายนอกเป็นผู้ปกครอง ดังนั้นในการกำหนดอำนาจปกครองบุตรภายหลังการหย่าทำให้บุตรต้องขาดจากชีวิตร่วมของบิดามารดา อันเป็นผลเสียต่อบุตรโดยเฉพาะทางจิตใจ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาสังคมเรื่องเด็กมีความประพฤติเสื่อมเสียหรือเด็กกระทำผิดกฎหมาย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ถึงวิธีการกำหนดอำนาจปกครองบุตรภายหลังการหย่า โดยศึกษาถึงแนวทางเลือกใหม่ที่เรียกว่าการปกครองบุตรร่วมกันภายหลังการหย่า อันเป็นวิธีที่จะรักษาสภาพแวดล้อมทางกายและจิตใจของเด็กที่บิดามารดาหย่าร้างกันให้คงสภาพการณ์เหมือนก่อนการหย่าให้มากที่สุด นอกจากจากหลักเดิมที่ต้องให้บิดาหรือมารดาเพียงฝ่ายเดียวเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตร ซึ่งในกฎหมายครอบครัวของประเทศต่างๆ ไม่ว่าในระบบกฎหมายจารีตประเพณีหรือระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษรได้เปิดโอกาสให้บิดามารดาได้เลือกใช้วิธีการดังกล่าว หากจะอำนวยประโยชน์และความผาสุกให้บุตรของตน ผู้เขียนได้เสนอแนะให้มีการเลือกใช้การปกครองบุตรร่วมกันภายหลังการหย่าให้เป็นทางเลือกหนึ่งในกฎหมายครอบครัวไทย ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้บิดามารดาและบุตรมีความสัมพันธ์อันต่อเนื่องกัน บิดามารดาจะมีความรับผิดชอบต่อบุตรร่วมกันและเท่าเทียมกันภายหลังการหย่า และบุตรจะได้รับการติดต่อและดูแลเอาใจใส่จากบิดาและมารดาสองคนอย่างสม่ำเสมอ แต่วิธีการดังกล่าวต้องตั้งอยู่บนความตกลงและความเข้าใจกันเป็นอย่างดีของบิดาและมารดาและเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบุตรen_US
dc.description.abstractalternativeAccording to the current family law of Thailand, divorce either by mutual consent or by judgement of the court, if the parties have a child or children of the family, they should agree which party would assume parental power and the other would have only right to access. In case of disagreement the court shall decide who is the guardian and sometime may be outsider. For such manner, it may trace a child out of the previous warm life. This event may effect young mind and may lead to some part of social problem like juvenile delequency or crime committeed by minor. This thesis is aimed to study and analyse the way to determine parental power after divorce by studying the new alternative called “joint custody”, the way which is accepted to be a choice of custody under the family law in both common law and civil law countries. As the joint custody can protect the physical and mental condition of life of a child as it has been before, other than the previous way as mentioned above. The author propose that there should add “joint custody” as a new alternative of custody for parents after divorce under the family law of Thailand in order to assure a child of frequent and continuing contact with both parents after divorce and to incorage parents to share the rights and responsibilities of child rearing. This alternative of custody, however, shall be based on the mutual agreement and understanding of both parents and carried on for the welfare or the best interest of the child.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการหย่าen_US
dc.subjectอำนาจปกครองบุตรen_US
dc.subjectบุตรen_US
dc.subjectบิดาen_US
dc.subjectมารดาen_US
dc.subjectผู้ปกครองen_US
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- ครอบครัวen_US
dc.titleอำนาจปกครองบุตรภายหลังการหย่าen_US
dc.title.alternativeParental power after divorceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worraphan_ch_front.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Worraphan_ch_ch1.pdf531.4 kBAdobe PDFView/Open
Worraphan_ch_ch2.pdf7.1 MBAdobe PDFView/Open
Worraphan_ch_ch3.pdf6.99 MBAdobe PDFView/Open
Worraphan_ch_ch4.pdf7.38 MBAdobe PDFView/Open
Worraphan_ch_ch5.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open
Worraphan_ch_back.pdf4.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.