Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไชยันต์ ไชยพร-
dc.contributor.authorวันฉัตร สุวรรณกิตติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-10T04:35:28Z-
dc.date.available2016-06-10T04:35:28Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746328611-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48683-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องความไม่เท่าเทียมกันของมนุษย์และการจัดแบ่งชนชั้นของมนุษย์ตามแนวความคิดของเพลโตและในพระไตรปิฎก เพื่อแสดงถึงนัยทางการเมืองและแนวความคิดที่เกิดจากการประยุกต์แนวความคิดทั้งสอง ซึ่งในการวิจัยได้ยึดตัวบท "อุตมรัฐ" และ "พระไตรปิฎก" เป็นขอบเขตของการศึกษา โดยอาศัยวิธีการตีความตามทฤษฎีการตีความสรรพสิ่งในการหาความหมายและความมุ่งหมาของตัวบท ในการวิจัยได้ตั้งข้อสมมติฐานของการศึกษาว่า ความแตกต่างของการแบ่งชนชั้นมนุษย์ของเพลโตกับในพระไตปิฎกเป็นผลจากความแตกต่างทางบริบท ซึ่งลักษณะการแบ่งชนชั้นทั้งสองแนวความคิดนี้มีลักษณะการแบ่งที่ไม่ชัดเจน ทำให้อาจพิจารณาตีความนัยอื่นได้ โดยแนวความคิดทั้งสองมีลักษณะความหมายแฝงสำคัญในการยกระดับหรือเปลี่ยนแปลงทัศคติของคนและสังคม ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดทั้งสองได้แสดงให้เห็นถึงลักษณะความเท่าเทียมกันของมนุษย์ตามธรรมชาติที่ไม่มีคนใดมีความพิเศษแตกต่างจากมนุษย์ผู้อื่นที่สามารถจะกระทำจำแนกอย่างเด่นชัดความแตกต่างที่มนุษย์จะพึงมีเป็นเรื่องของความถนัดตามธรรมชาติและความสามารถในการรับรู้และเข้าใจในธรรมอันพิเศษ ซึ่งเป็นลักษณะตามธรรมชาติของมนุษย์แต่ละคนที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชาติกำเนิดหรือการจัดการของรัฐหรือสังคม ลักษณะดังกล่าวได้ทำให้มนุษย์ทุกคนมีโอกาสในการสังกัดในทุกชนชั้นตามแต่สภาพความถนัดตามธรรมชาติตามแนวความคิดของเพลโต หรือความสามารถในการรับรู้และเข้าใจในธรรมอันพิเศษตามแนวความคิดในพระไตรปิฎก ซึ่งลักษณะดังกล่าวได้แฝงความมุ่งหมายในการที่จะให้มนุษย์ได้พัฒนาตนเอง อันจะส่งผลสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนและสังคมเพื่อผลของการมีชีวิตที่สุขสงบและเข้าใกล้ความยุติธรรมที่แท้จริงen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to understand the ideas of the classification of man in Plato's thought and in the Buddhist scripture in order to express the meaning in politics and the thoughts, which have mainly been evolved by these two ideas. This research is based on "the Republic" and "the Tripitikata" as a texts for study as well as using "hermeneutic method" as a mean for interpreting the texts. In this research, it has been assumed that the difference between the classification of man in Plato's thought and in the Tripitikata is a result of the difference of context, in which there is no clear-cut divergence between both theories definitions. Therefore, the interpretation of these theories might possibly be understood in other meaning. According to the result of the research, both theories have all shown that except the nature of cognitive ability, there is no difference among human beings in nature. As a result, any people have opportunities to affiliate in any human classes. It can, therefore, be concluded that both Plato's Republic and the Tripitikata intend to persuade man to improve their condition towards life and perfect justice.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเมือง -- ปรัชญาen_US
dc.subjectชนชั้นในสังคมen_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบความคิดเรื่องชนชั้นของเพลโตและในพระไตรปิฎกen_US
dc.title.alternativeA comparative study of the ideas of the classification of man in Plato's thought and in the Buddhist Scriptureen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChaiyan.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanchat_su_front.pdf995.72 kBAdobe PDFView/Open
Wanchat_su_ch1.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Wanchat_su_ch2.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open
Wanchat_su_ch3.pdf4.13 MBAdobe PDFView/Open
Wanchat_su_ch4.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open
Wanchat_su_ch5.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Wanchat_su_ch6.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Wanchat_su_back.pdf819.3 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.